JOB Ratchakarn
หนังสือมอบอำนาจ
เขียนโดย small ที่ 09:02
หนังสือมอบอำนาจ
เรื่อง............................................................................
เขียนที่............................................................
วันที่.........เดือน..............................พ.ศ..........
โดยหนังสือฉบับนี้ ข้าพเจ้า
.......................................................................................................................
อายุ............ปี
เชื้อชาติ.............................สัญชาติ...........................บุตร
นาย/นาง....................................................
อยู่บ้านเลขที่..................หมู่............แขวง/ตำบล.....................................เขต/อำเภอ................................................จังหวัด........................................................
เบอร์โทรศัพท์.....................................................................................
ได้มอบอำนาจให้.......................................................................................................................................อายุ............ปี
เชื้อชาติ.............................สัญชาติ..........................บุตร
นาย/นาง.....................................................
อยู่บ้านเลขที่..................หมู่............แขวง/ตำบล.....................................เขต/อำเภอ................................................จังหวัด........................................................
เบอร์โทรศัพท์.....................................................................................
เป็นผู้มีอำนาจจัดการ.................................................................................................................................. แทนข้าพเจ้าจนเสร็จการ
และข้าพเจ้ายอมรับผิดชอบในการที่ผู้รับมอบอำนาจได้ทำไปตามที่มอบอำนาจนี้เสมือนหนึ่งข้าพเจ้าได้ทำการด้วยตนเอง
เพื่อเป็นหลักฐานข้าพเจ้าได้ลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือไว้เป็นสำคัญต่อหน้าพยานแล้ว
ลงชื่อ...................................................................ผู้มอบอำนาจ
(....................................................................)
ตัวบรรจง
ลงชื่อ...................................................................ผู้รับมอบอำนาจ
(....................................................................)
ตัวบรรจง
ลงชื่อ....................................................................พยาน
(....................................................................)
ตัวบรรจง
ลงชื่อ....................................................................พยาน
(....................................................................)
ตัวบรรจง
หมายเหตุ กรุณาเขียนให้ชัดเจนและระบุข้อความให้ครบถ้วน
ผลของการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต
เขียนโดย small ที่ 08:47
มาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ง กำหนดว่าบุคคลผู้สร้างเรือนรุกล้ำนั้น เป็นเจ้าของ โรงเรือน ที่สร้างขึ้น แต่ต้องเสียเงิน ให้แก่ เจ้าของที่ดิน เป็นค่าใช้ที่ดินนั้น และ จดทะเบียนสิทธิ เป็น ภาระจำยอม ต่อภายหลัง ถ้า โรงเรือนนั้น สลายไปทั้งหมด เจ้าของที่ดิน จะเรียกให้เพิกถอน การจดทะเบียนเสีย ก็ได้
คำพิพากษาฎีกาที่ ๗๔๑/๒๕๐๕ ปลูกสร้างเรือนในที่ดินของตน ตัวเรือนไม่รุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่น แต่ชายคาได้รุกล้ำเข้าไปโดยสุจริตนั้นย่อมเป็นการปลูกสร้างโรงเรือนรุกล้ำ เข้าไปในที่ดินของผู้อื่น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๑๓๑๒ ไม่ใช่ มาตรา ๑๓๔๑ เพราะตาม มาตรา ๑๓๔๑ หมายถึงทำหลังคาหรือการปลูกสร้างอย่างอื่นโดยมิได้รุกล้ำที่ดินของผู้อื่น แต่เมื่อฝนตกน้ำฝนได้ไหลลงไปยังที่ดินหรือทรัพย์สินของผู้อื่นที่ติดต่อกัน
ในกรณีปลูกเรือนรุกล้ำที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามมาตรา ๑๓๑๒ นั้น เจ้าของโรงเรือนมีสิทธิขอให้จดทะเบียนสิทธิเป็นภารจำยอมได้ โดยไม่ต้องรอจนเกิน ๑๐ ปี
ข้อสังเกต การจดทะเบียนการใช้ที่ดินเป็นภาระจำยอมเป็นการจดทะเบียนโดยอาศัยสิทธิที่ มาตรา ๑๓๑๒ ให้ไว้ ไม่ใช่เป็นการได้ภาระจำยอมมาโดยอายุความ ๑๐ ปี เมื่อไม่ใช่เป็นการได้ภาระจำยอมโดยอายุความ ก็ไม่จำเป็นต้องรอให้ครบ ๑๐ ปี ก่อนจึงจะไปจดทะเบียนได้มา
คำพิพากษาฎีกาที่ ๗๔๑/๒๕๐๕ ปลูกสร้างเรือนในที่ดินของตน ตัวเรือนไม่รุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่น แต่ชายคาได้รุกล้ำเข้าไปโดยสุจริตนั้นย่อมเป็นการปลูกสร้างโรงเรือนรุกล้ำ เข้าไปในที่ดินของผู้อื่น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๑๓๑๒ ไม่ใช่ มาตรา ๑๓๔๑ เพราะตาม มาตรา ๑๓๔๑ หมายถึงทำหลังคาหรือการปลูกสร้างอย่างอื่นโดยมิได้รุกล้ำที่ดินของผู้อื่น แต่เมื่อฝนตกน้ำฝนได้ไหลลงไปยังที่ดินหรือทรัพย์สินของผู้อื่นที่ติดต่อกัน
ในกรณีปลูกเรือนรุกล้ำที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามมาตรา ๑๓๑๒ นั้น เจ้าของโรงเรือนมีสิทธิขอให้จดทะเบียนสิทธิเป็นภารจำยอมได้ โดยไม่ต้องรอจนเกิน ๑๐ ปี
ข้อสังเกต การจดทะเบียนการใช้ที่ดินเป็นภาระจำยอมเป็นการจดทะเบียนโดยอาศัยสิทธิที่ มาตรา ๑๓๑๒ ให้ไว้ ไม่ใช่เป็นการได้ภาระจำยอมมาโดยอายุความ ๑๐ ปี เมื่อไม่ใช่เป็นการได้ภาระจำยอมโดยอายุความ ก็ไม่จำเป็นต้องรอให้ครบ ๑๐ ปี ก่อนจึงจะไปจดทะเบียนได้มา
สร้างโรงเรือนรุกล้ำที่ดินของผู้อื่น
เขียนโดย small ที่ 08:46
มาตรา ๑๓๑๒ บุคคลใดสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นเป็นเจ้าของโรงเรือนที่สร้างขึ้น แต่ต้องเสียเงินให้แก่เจ้าของที่ดินเป็นค่าใช้ที่ดินนั้น และ จดทะเบียนสิทธิเป็นภาระจำยอม ต่อภายหลังถ้าโรงเรือนนั้นสลายไปทั้งหมด เจ้าของที่ดินจะเรียกให้เพิกถอนการจดทะเบียนเสียก็ได้
ถ้าบุคคลผู้สร้างโรงเรือนนั้น กระทำการโดยไม่สุจริต ท่านว่าเจ้าของที่ดินจะเรียกให้ผู้สร้างรื้อถอนไปและทำที่ดินให้เป็นตามเดิม โดยผู้สร้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายก็ได้
ข้อสังเกต
(๑) เป็นการสร้างโรงเรือนส่วนใหญ่ในที่ดินของผู้สร้างเองหรือในที่ดินที่ผู้ สร้างมีสิทธิที่จะสร้างได้ คงมีแต่เพียงส่วนน้อยหรือบางส่วนของโรงเรือนเท่านั้นที่ไปรุกล้ำเข้าไปใน ที่ดินของผู้อื่น
(๒) เป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นนั้น การรุกล้ำนั้นต้องเกิดตั้งแต่แรกหรือเป็นการรุกล้ำมาตั้งแต่ขณะแรกที่ทำการส ร้าง ถ้าตอนแรกไม่รุกล้ำต่อมามีการต่อเติมรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่น ก็ไม่อยู่ในบังคับของมาตรา ๑๓๑๒
(๓) ความแตกต่างระหว่างมาตรา ๑๓๑๒ กับ ๑๓๑๔ คือ มาตรา ๑๓๑๔ ไม่ใช่การสร้างรุกล้ำแต่เป็นการที่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ทำหลังคาหรือปลูก สร้างอย่างอื่นมีผลทำให้น้ำฝนตกลงไปยังทรัพย์สินอื่นที่ติดกัน แต่ตัวสิ่งปลูกสร้างหรือก่อสร้างนั้นไม่ได้รุกล้ำ ส่วนมาตรา ๑๓๑๒ เป็นเรื่องที่บางส่วนของตัวโรงเรือนเองหรือบางส่วนของโรงเรือนรุกล้ำ
ถ้าบุคคลผู้สร้างโรงเรือนนั้น กระทำการโดยไม่สุจริต ท่านว่าเจ้าของที่ดินจะเรียกให้ผู้สร้างรื้อถอนไปและทำที่ดินให้เป็นตามเดิม โดยผู้สร้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายก็ได้
ข้อสังเกต
(๑) เป็นการสร้างโรงเรือนส่วนใหญ่ในที่ดินของผู้สร้างเองหรือในที่ดินที่ผู้ สร้างมีสิทธิที่จะสร้างได้ คงมีแต่เพียงส่วนน้อยหรือบางส่วนของโรงเรือนเท่านั้นที่ไปรุกล้ำเข้าไปใน ที่ดินของผู้อื่น
(๒) เป็นการสร้างโรงเรือนรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นนั้น การรุกล้ำนั้นต้องเกิดตั้งแต่แรกหรือเป็นการรุกล้ำมาตั้งแต่ขณะแรกที่ทำการส ร้าง ถ้าตอนแรกไม่รุกล้ำต่อมามีการต่อเติมรุกล้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่น ก็ไม่อยู่ในบังคับของมาตรา ๑๓๑๒
(๓) ความแตกต่างระหว่างมาตรา ๑๓๑๒ กับ ๑๓๑๔ คือ มาตรา ๑๓๑๔ ไม่ใช่การสร้างรุกล้ำแต่เป็นการที่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ทำหลังคาหรือปลูก สร้างอย่างอื่นมีผลทำให้น้ำฝนตกลงไปยังทรัพย์สินอื่นที่ติดกัน แต่ตัวสิ่งปลูกสร้างหรือก่อสร้างนั้นไม่ได้รุกล้ำ ส่วนมาตรา ๑๓๑๒ เป็นเรื่องที่บางส่วนของตัวโรงเรือนเองหรือบางส่วนของโรงเรือนรุกล้ำ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...