JOB Ratchakarn
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
เขียนโดย small ที่ 22:49
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชีพนั้นมีความรู้สึกว่าถูกเอารัดเอาเปรียบและเป็นอาชีพที่ไม่มั่นคง นั่นคือ อาชีพการเป็นลูกจ้าง ลูกจ้างซึ่งเป็นฝ่ายด้อยกว่าในสังคมถูกเอารัดเอาเปรียบจากฝ่ายนายจ้างที่ใช้ระบบเสรีนิยมมุ่งจะสร้างผลผลิตหรือกำไรให้มากที่สุด โดยการกำหนดค่าแรงต่ำ ไม่มีสวัสดิการตามควร จำนวนชั่วโมงทำงนสูงในแต่ละวัน สภาพการทำงานเลวร้อนอบอ้าวและเต็มไปด้วยหมอกควัน เสี่ยงต่ออันตราย และก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของสุขภาพอนามัยอย่างยิ่ง บรรดาลูกจ้างเหล่านั้นเกิดความคิดว่าตนเป็นประชาชนอีกระดับหจึ่งที่ถูกเอารัดเอาเปรียบตลอดเวลาจนมีคำกล่าวในหมู่ลูกจ้างว่า “ยามดีใช้ ยามไข้ไม่ดูแลรักษา” จากสาเหตุดังกล่าว ลูกจ้างจึงเกิดความติดในการแสวงหาวิถีทางช่วยเหลือตนเองให้ได้รับความเป็นธรรม ให้เกิดพลังและการยอมรับนับถือ เกิดอำนายในการเข้าร่วมปรึกษาหารือ หรืออำนาจในการเข้าต่อรองในเรื่องเกี่ยวกับสภาพการจ้างงานกับนายจ้างได้ ดังนั้นลูกจ้างจึงรวมตัวกันเป็นองค์กรฝ่ายลูกจ้าง ซึ่งเป็นการจัดตั้งองค์กรฝ่ายลูกจ้างที่มีวัตถุประสงค์ทางด้านแรงงานสัมพันธ์ได้
องค์กรฝ่ายลูกจ้าง ที่มีวัตถุประสงค์ทางด้านแรงงานสัมพันธ์ มี 3 ระดับ คือ
สหภาพแรงงาน
สหพันธ์แรงงาน
สภาองค์กรลูกจ้าง
เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและเกิดความสมานฉันท์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในระยะเริ่มแรก การรวมตัวกันเป็นองค์กรของฝ่ายนายจ้างเป็นการรวมกลุ่มเพื่อประโยชน์ทางด้านการค้าขาย ด้านธุรกิจ หรือด้านอุตสาหกรรม การรวมตัวกันมีหลายรูปแบบ ทั้งแบบที่ไม่เป็นทางการ แบบชั่วคราว และแบบที่เป็นทางการ เป็นองค์กรถาวร เช่น สมาคมการค้า สมาคมอุตสาหกรรม หรือหอการค้า องค์กรเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์อย่างอื่น มิใช่เพื่อดำเนินการทางด้านแรงงานสัมพันธ์ ต่อมากระทรวงมหาดไทยจึงออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การแรงงานสัมพันธ์ ลงวันที่ 16 เมษายน 2515 กำหนดให้นายจ้างจัดตั้งองค์กรโดยมีวัตถุประสงค์ทางด้านแรงงานสัมพันธ์ได้ องค์กรนายจ้างตั้งได้ตามกฎหมายนี้คือ สมาคมนายจ้างซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการแสวงหาและคุ้มครองประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้าง การจัดสวัสดิการและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้าง กับลูกจ้าง และระหว่างนายจ้างด้วยกัน
องค์กรนายจ้าง ที่มีวัตถุประสงค์ทางด้านแรงงานสัมพันธ์ มี 3 ระดับ คือ
สมาคมนายจ้าง
สหพันธ์นายจ้าง
สภาองค์กรนายจ้าง
สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชีพนั้นมีความรู้สึกว่าถูกเอารัดเอาเปรียบและเป็นอาชีพที่ไม่มั่นคง นั่นคือ อาชีพการเป็นลูกจ้าง ลูกจ้างซึ่งเป็นฝ่ายด้อยกว่าในสังคมถูกเอารัดเอาเปรียบจากฝ่ายนายจ้างที่ใช้ระบบเสรีนิยมมุ่งจะสร้างผลผลิตหรือกำไรให้มากที่สุด โดยการกำหนดค่าแรงต่ำ ไม่มีสวัสดิการตามควร จำนวนชั่วโมงทำงนสูงในแต่ละวัน สภาพการทำงานเลวร้อนอบอ้าวและเต็มไปด้วยหมอกควัน เสี่ยงต่ออันตราย และก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของสุขภาพอนามัยอย่างยิ่ง บรรดาลูกจ้างเหล่านั้นเกิดความคิดว่าตนเป็นประชาชนอีกระดับหจึ่งที่ถูกเอารัดเอาเปรียบตลอดเวลาจนมีคำกล่าวในหมู่ลูกจ้างว่า “ยามดีใช้ ยามไข้ไม่ดูแลรักษา” จากสาเหตุดังกล่าว ลูกจ้างจึงเกิดความติดในการแสวงหาวิถีทางช่วยเหลือตนเองให้ได้รับความเป็นธรรม ให้เกิดพลังและการยอมรับนับถือ เกิดอำนายในการเข้าร่วมปรึกษาหารือ หรืออำนาจในการเข้าต่อรองในเรื่องเกี่ยวกับสภาพการจ้างงานกับนายจ้างได้ ดังนั้นลูกจ้างจึงรวมตัวกันเป็นองค์กรฝ่ายลูกจ้าง ซึ่งเป็นการจัดตั้งองค์กรฝ่ายลูกจ้างที่มีวัตถุประสงค์ทางด้านแรงงานสัมพันธ์ได้
องค์กรฝ่ายลูกจ้าง ที่มีวัตถุประสงค์ทางด้านแรงงานสัมพันธ์ มี 3 ระดับ คือ
สหภาพแรงงาน
สหพันธ์แรงงาน
สภาองค์กรลูกจ้าง
เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและเกิดความสมานฉันท์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในระยะเริ่มแรก การรวมตัวกันเป็นองค์กรของฝ่ายนายจ้างเป็นการรวมกลุ่มเพื่อประโยชน์ทางด้านการค้าขาย ด้านธุรกิจ หรือด้านอุตสาหกรรม การรวมตัวกันมีหลายรูปแบบ ทั้งแบบที่ไม่เป็นทางการ แบบชั่วคราว และแบบที่เป็นทางการ เป็นองค์กรถาวร เช่น สมาคมการค้า สมาคมอุตสาหกรรม หรือหอการค้า องค์กรเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์อย่างอื่น มิใช่เพื่อดำเนินการทางด้านแรงงานสัมพันธ์ ต่อมากระทรวงมหาดไทยจึงออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การแรงงานสัมพันธ์ ลงวันที่ 16 เมษายน 2515 กำหนดให้นายจ้างจัดตั้งองค์กรโดยมีวัตถุประสงค์ทางด้านแรงงานสัมพันธ์ได้ องค์กรนายจ้างตั้งได้ตามกฎหมายนี้คือ สมาคมนายจ้างซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการแสวงหาและคุ้มครองประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้าง การจัดสวัสดิการและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้าง กับลูกจ้าง และระหว่างนายจ้างด้วยกัน
องค์กรนายจ้าง ที่มีวัตถุประสงค์ทางด้านแรงงานสัมพันธ์ มี 3 ระดับ คือ
สมาคมนายจ้าง
สหพันธ์นายจ้าง
สภาองค์กรนายจ้าง
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น