Recent Posts

Posts RSS

แนวข้อสอบการไฟฟ้าฝ่ายผลิต

1. พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  พ.ศ. ๒๕๑๑  ให้ไว้ ณ วันใด
ก. ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๑                                         ค. o พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๑
ข. ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๑                                     ง. ๓๑ ธันวาคม  พ.ศ. ๒๕๑๑
ตอบ   ข. ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๑
2. พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  พ.ศ. ๒๕๑๑  ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด
ก. ๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๑                                        ค. ๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๑
ข. ๓ พฤศจิกายน ๒๕๑๑                                        ง. ๕ พฤศจิกายน ๒๕๑๑
ตอบ   ก. ๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๑
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3. พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  มีกี่ฉบับ
ก. 2  ฉบับ                                                                   ค.  4  ฉบับ
ข. 3  ฉบับ                                                                   ง.  5  ฉบับ
ตอบ   ก. 2  ฉบับ          ได้แก่
พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๑
พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๗
พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๐
พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๓๕
4. พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  พ.ศ. ๒๕๑๑  มีกี่หมวด กี่มาตรา
ก. 5  หมวด   58  มาตรา                                           ค.  6  หมวด  59  มาตรา
ข. 5  หมวด   59  มาตรา                                           ง.  6  หมวด  60  มาตรา
ตอบ   ค.  6  หมวด  59  มาตรา
5. ใครคือผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  พ.ศ. ๒๕๑๑ 
ก. ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
ข. คณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย      ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ตอบ   ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน


มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน*รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
6. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย” เรียกโดยย่อว่าอะไร
ก. กฟท.                                                                      ค. กฟฟ.
ข. กฟผ.                                                                      ง. กฟภ.
ตอบ   ข. กฟผ.            
มาตรา ๖ ให้จัดตั้งการไฟฟ้าขึ้น เรียกว่า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย” เรียกโดยย่อว่า กฟผ.” และให้เป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้
(๑) ผลิต จัดให้ได้มา จัดส่งหรือจำหน่ายซึ่งพลังงานไฟฟ้าให้แก่
                    (ก) การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคหรือการไฟฟ้าอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
(ข) ผู้ใช้พลังงานไฟฟ้าตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
(ค) ประเทศใกล้เคียง
(๒) ดำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า แหล่งพลังงานอันได้มาจากธรรมชาติ เช่น น้ำ ลม ความร้อนธรรมชาติ แสงแดด แร่ธาตุ หรือเชื้อเพลิงเป็นต้นว่า น้ำมัน ถ่านหิน หรือก๊าซ รวมทั้งพลังงานปรมาณู เพื่อการผลิตพลังงานไฟฟ้า และงานอื่นที่ส่งเสริมกิจการของ กฟผ.
(๒ ทวิ) ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าและธุรกิจอื่นที่เกี่ยวกับหรือต่อเนื่องกับกิจการของ กฟผ. หรือร่วมทุนกับบุคคลอื่นเพื่อดำเนินการดังกล่าว
(๓) ผลิตและขายลิกไนท์ หรือวัตถุเคมีจากลิกไนท์หรือโดยอาศัยลิกไนท์หรือร่วมทุนกับบุคคลอื่นเพื่อดำเนินการดังกล่าว

0 ความคิดเห็น

แนวข้อสอบการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด
ก. ๒๑ มีนาคม พ.๒๕๓๕                  ๒๓ มีนาคม พ.๒๕๓๕
ข. ๒๒ มีนาคม พ.๒๕๓๕                 ๒๔ มีนาคม พ.๒๕๓๕
ตอบ  ค๒๓ มีนาคม พ.๒๕๓๕
2. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.๒๕๓๕ มีกี่หมวด กี่มาตรา
ก. 9  หมวด  60 มาตรา                                             . 8  หมวด  60 มาตรา
ข. 9  หมวด  61 มาตรา                                             .  8  หมวด  61 มาตรา
ตอบ   ข. 9  หมวด  61 มาตรา
3. พลังงานหมุนเวียนเป็นพลังงานที่ได้จากอะไร
ก. ไม้  ฟืน                                                                  อ้อย 
ข. แกลบ  กาก                                                            ถูกทุกข้อ
ตอบ   งถูกทุกข้อ
พลังงานหมุนเวียน” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากไม้ ฟืน แกลบ กาก อ้อย ชีวมวล น้ำ
แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ ลม และคลื่น เป็นต้น
4. ข้อใด ไม่ใช่ พลังงานสิ้นเปลือง
ก. ถ่านหิน                                                                 แสงอาทิตย์
ข. น้ำมันเชื้อเพลิง                                                    ก๊าซธรรมชาติ
ตอบ   คแสงอาทิตย์
พลังงานสิ้นเปลือง” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากถ่านหิน หินน้ำมัน  ทรายน้ำมัน น้ำมันดิบ น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ และนิวเคลียร์ เป็นต้น
5. ข้อใด ไม่ใช่  ความหมายของเชื้อเพลิง
ก. ทรายน้ำมัน                                                           น้ำมันเตา
ข. ฟืน                                                                         เป็นความหมายของเชื้อเพลิงทุกข้อ
ตอบ   งเป็นความหมายของเชื้อเพลิงทุกข้อ
เชื้อเพลิง” หมายความรวมถึง ถ่านหิน หินน้ำมัน ทรายน้ำมัน น้ำมันเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ ก๊าซเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงสังเคราะห์ ฟืน ไม้ แกลบ กากอ้อย ขยะและสิ่งอื่น ตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
น้ำมันเชื้อเพลิง” หมายความว่า ก๊าซ น้ำมันเบนซิน น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องบิน น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา น้ำมันอื่นๆ ที่คล้ายกับน้ำมันที่ได้ออกชื่อมาแล้วและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติกำหนดโดยประกาศในราช
กิจจานุเบกษา
6. ข้อใดคือหน้าที่ของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
ก. เสนอนโยบาย เป้าหมาย หรือมาตรการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานต่อคณะรัฐมนตรี
ข. กำหนดชนิดของน้ำมันเชื้อเพลิงที่ไม่ต้องส่งเงินเข้ากองทุน
ค. กำหนดอัตราการส่งเงินเข้ากองทุนสำหรับน้ำมันเชื้อเพลิง
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ   งถูกทุกข้อ
มาตรา ๔ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามพระราชบัญญัตินี้ ให้     
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(เสนอนโยบาย เป้าหมาย หรือมาตรการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานต่อคณะรัฐมนตรี
(เสนอต่อคณะรัฐมนตรีในการออกพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๘ และมาตรา ๑๘
(ให้คำแนะนำในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๙ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑และมาตรา ๒๓
(กำหนดแนวทาง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และลำดับความสำคัญของการใช้จ่ายเงินกองทุนตามมาตรา ๒๘ ()
(กำหนดชนิดของน้ำมันเชื้อเพลิงที่ไม่ต้องส่งเงินเข้ากองทุนตาม มาตรา ๒๘()
(กำหนดอัตราการส่งเงินเข้ากองทุนสำหรับน้ำมันเชื้อเพลิงตาม มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ และมาตรา ๓๗
(ให้ความเห็นชอบอัตราค่าธรรมเนียมพิเศษตามมาตรา ๔๓
(กำหนดแนวทาง หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการให้การส่งเสริมและช่วยเหลือแก่โรงงาน อาคาร ผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ายเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง และผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ายวัสดุเพื่อใช้ในการอนุรักษ์พลังงานตามมาตรา ๔๐
(ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
7. ใครเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.๒๕๓๕
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน                                   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม                           ถูกทุกข้อ
ตอบ   งถูกทุกข้อ
มาตรา ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของตน

0 ความคิดเห็น

ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ

 คณะกรรมการคัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์มีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
ก. พิจารณาอนุญาตให้ส่วนราชการจัดการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ข. พิจารณาคัดเลือกและจัดทำทะเบียนรายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์
ค. ประกาศกำหนดคุณสมบัติของผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์
ง. ถูกทุกข้อ

 ผู้ว่าจ้างอาจริบหลักประกันหรือใช้สิทธิเรียกร้องเอาจากผู้ค้ำประกันได้ตามกรณีใด
ก. ผู้รับจ้างหลีกเลี่ยงการทำสัญญาในระยะเวลาที่กำหนด
ข. ผู้ว่าจ้างไม่สามารถส่งใบแจ้งให้มาทำสัญญาได้เนื่องจากผู้รับจ้างเลิกหรือหยุดกิจการ
ค. ผู้รับจ้างผิดสัญญาและผู้ว่าจ้างได้บอกเลิกสัญญากับผู้รับจ้างแล้ว
ง. ถูกทุกข้อ

 การยืมพัสดุประเภทคงรูปไปใช้ในราชการนอกสถานที่ราชการจะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ใด
ก. หัวหน้าส่วนราชการ
ข. หัวหน้ากองหรือผู้ทำหน้าที่แทนผู้บังคับบัญชาหัวหน้าส่วนราชการนั้น
ค. อธิบดีหรือผู้ทำการแทนผู้บังคับบัญชาของหัวหน้าส่วนราชการนั้น
ง. ไม่มีข้อใดถูก

การจัดหาในกรณีใด จะทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันโดยไม้ต้องทำเป็นสัญญาก็ได้
ก. การซื้อการจ้างโดยวิธีตกลงราคาที่วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท
ข. การจัดหาที่คู่สัญญาสามารถส่งมอบพัสดุให้ครบถ้วนภายในห้าวันทำการของทางราชการ
ค. การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีพิเศษหรือวิธีกรณีพิเศษหรือเป็นการเช่า 
ง. ถูกทุกข้อ

 หลักประกันของหรือหลักประกันสัญญา ให้ใช้หลักประกันอย่างไร
ก. เงินสอด เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย
ข. หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด พันธบัตรรัฐบาลไทย
ค. หนังสือค้ำประกันของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
ง. ถูกทุกข้อ 

คณะกรรมการประกวดราคาจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์จะต้องนำสาระสำคัญของเอกสารประกาศเชิญชวน เอกสารการประกวดราคาและเอกสารเบื้องต้นอื่นๆ ลงประกาศทางเว็บไซด์ของหน่วยงาน และกรมบัญชีกลางเป็นเวลานานเท่าใด
ก. ไม่น้อยกว่าสามวัน
ข. ไม่เกินสามวันทำการ
ค. ไม่น้อยกว่าเจ็ดวันทำการ
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

 คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เรียกชื่อย่อตามข้อใด
ก. กว.พ.อ.
ข. ก.ว.พ.อ.
ค. กวพ.อ.
ง. ไมมีข้อใดถูกต้อง

0 ความคิดเห็น

แนวระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖

๑.     พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖มีผลบังคับใช้เมื่อใด
            ก.  ๕  กรกฎาคม ๒๕๔๖
            ข.  ๖  กรกฎาคม ๒๕๔๖
            ค.  ๗  กรกฎาคม ๒๕๔๖
            ง.  ๘  กรกฎาคม ๒๕๔๖
๒.     ข้อใดไม่ใช้การจัดระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
            ก.  ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
            ข.  ระเบียบบริหารราชการในส่วนภูมิภาค
            ค.  ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
            ง.  ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐ ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีที่เป็นนิติบุคคล
๓.       การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการต้องคำนึงถึงสิ่งใด
            ก.  คุณวุฒิ ประสบการณ์
            ข.  มาตรฐานวิชาชีพ
            ค.  ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ คุณภาพของงาน
            ง.  ถูกทุกข้อ
๔.       ระเบียบบริหารราชการส่วนกลางประกอบด้วย
            ก.  สำนักงานปลัดกระทรวง
            ข.  สำนักงานปลัดทบวง
            ค.  ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการ
            ง.  ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข้อ ค
๕.       หัวหน้าส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการในข้อใด
            ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
            ก.  สำนักรัฐมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวง
            ข.  สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
            ค.  สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
            ง.  ถูกทุกข้อ

๖.        ส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการในข้อใดไม่ได้มีฐานะเป็นนิติบุคคล
            และเป็นกรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
            ก.  สำนักงานรัฐมนตรี
            ข.  สำนักงานปลัดกระทรวง
            ค.  สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
            ง.    สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๗.       การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติและมาตรฐานการศึกษาของสภาการศึกษา
            ให้เสนอต่อใคร
            ก.  นายกรัฐมนตรี
            ข.  คณะรัฐมนตรี
            ค.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
            ง.  ก.ค.ส.
๘.       ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
            ก.  พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐาน
                   และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
            ข.  การสนับสนุนทรัพยากร การติดตามตรวจสอบ
                   และประมวลผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
            ค.  เสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ์
                   และประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารของสำนักงาน
            ง.  ถูกทุกข้อ
๙.        คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบไปด้วยกรรมการจากส่วนใดบ้าง
            ก.  ผู้แทนองค์กรเอกชน
            ข.  ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
            ค.  ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
            ง.  ถูกทุกข้อ
๑๐.      ใครกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาของ
            องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ก. ก.ค.ศ.
ข. กระทรวงศึกษาธิการ
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

0 ความคิดเห็น

บทความที่ได้รับความนิยม