JOB Ratchakarn
ตัวอย่าง คำร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก (แบบไม่มีพินัยกรรม)
เขียนโดย small ที่ 23:32
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ
1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ )
2.ขณะเสียชีวิตผู้ตายมีทายาทที่มีสิทธิรับมรดกกี่คน ( มีบุตรกี่คน พ่อแม่ยังอยู่หรือไม่แสดงบัญชีเครือญาติเสมอ)
3.บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับการตาย (ตายที่ไหน) สาเหตุแห่งการตาย , และ ขณะถึงแก่ความตายเจ้ามรดกมีภูมิลำเนาอยู่ที่ไหน ( แสดงสำเนาทะเบียนราษฏร์ของเจ้ามรดกท้ายคำร้องขอเสมอ)
(วรรคต่อมา) ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรมมิได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้แก่ผู้ใด และมิได้ตั้งผู้ใดเป็นผู้จัดการมรดก ขณะเจ้ามรดกถึงแก่กรรมมีทรัพย์มรดก ดังนี้
3.1........................................................................
3.2........................................................................
3.3........................................................................
รายละเอียดปรากฏตาม..........................เอกสารท้ายคำร้องหมายเลข.......,......,....ตามลำดับ และยังทรัพย์สินอื่นๆอีกซึ่งผู้ร้องจะเสนอในชั้นพิจารณาต่อไป
4.บรรยายถึงเหตุแห่งการยื่นคำร้องเช่น :
หลังจากเจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้ว ผู้ร้องในฐานะทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก ได้ไป ติดต่อหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง (อะไรบ้างระบุไป) แต่ไม่สามารถดำเนินการได้ โดยได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ว่า ต้องร้องขอจัดการมรดกต่อศาลและให้ศาลมีคำสั่งให้เป็นผู้จัดการมรดกเสียก่อนจึงจะดำเนินการได้
( วรรคต่อมา ) ผู้ร้องได้รับความยินยอมจากทายาทอื่นให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ปรากฎตามหนังสือให้ความยินยอมเอกสารท้ายคำร้องหมายเลข..................... ผู้ร้องจึงมีความประสงค์ ขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายเพื่อจะได้ดำเนินการจัดการมรดกของผู้ตายให้กับทายาท
( วรรคต่อมา ) ด้วยเหตุดังที่ได้ประทานกราบเรียนต่อศาลที่เคารพ ขอศาลได้โปรดทำการไต่สวนคำร้องและมีคำสั่งแต่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของนาย/นาง.............................. ต่อไปด้วย ขอศาลได้โปรดอนุญาต
ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ลงชื่อ........................................................... ผู้ร้อง
คำร้องฉบับนี้ข้าพเจ้านาย/นางสาว....................................ทนายความผู้ร้องเป็นผู้เรียง/เขียน
ลงชื่อ...........................................................ผู้เรียง /เขียน
1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ )
2.ขณะเสียชีวิตผู้ตายมีทายาทที่มีสิทธิรับมรดกกี่คน ( มีบุตรกี่คน พ่อแม่ยังอยู่หรือไม่แสดงบัญชีเครือญาติเสมอ)
3.บรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับการตาย (ตายที่ไหน) สาเหตุแห่งการตาย , และ ขณะถึงแก่ความตายเจ้ามรดกมีภูมิลำเนาอยู่ที่ไหน ( แสดงสำเนาทะเบียนราษฏร์ของเจ้ามรดกท้ายคำร้องขอเสมอ)
(วรรคต่อมา) ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรมมิได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้แก่ผู้ใด และมิได้ตั้งผู้ใดเป็นผู้จัดการมรดก ขณะเจ้ามรดกถึงแก่กรรมมีทรัพย์มรดก ดังนี้
3.1........................................................................
3.2........................................................................
3.3........................................................................
รายละเอียดปรากฏตาม..........................เอกสารท้ายคำร้องหมายเลข.......,......,....ตามลำดับ และยังทรัพย์สินอื่นๆอีกซึ่งผู้ร้องจะเสนอในชั้นพิจารณาต่อไป
4.บรรยายถึงเหตุแห่งการยื่นคำร้องเช่น :
หลังจากเจ้ามรดกถึงแก่กรรมแล้ว ผู้ร้องในฐานะทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก ได้ไป ติดต่อหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง (อะไรบ้างระบุไป) แต่ไม่สามารถดำเนินการได้ โดยได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ว่า ต้องร้องขอจัดการมรดกต่อศาลและให้ศาลมีคำสั่งให้เป็นผู้จัดการมรดกเสียก่อนจึงจะดำเนินการได้
( วรรคต่อมา ) ผู้ร้องได้รับความยินยอมจากทายาทอื่นให้ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ปรากฎตามหนังสือให้ความยินยอมเอกสารท้ายคำร้องหมายเลข..................... ผู้ร้องจึงมีความประสงค์ ขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายเพื่อจะได้ดำเนินการจัดการมรดกของผู้ตายให้กับทายาท
( วรรคต่อมา ) ด้วยเหตุดังที่ได้ประทานกราบเรียนต่อศาลที่เคารพ ขอศาลได้โปรดทำการไต่สวนคำร้องและมีคำสั่งแต่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของนาย/นาง.............................. ต่อไปด้วย ขอศาลได้โปรดอนุญาต
ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ลงชื่อ........................................................... ผู้ร้อง
คำร้องฉบับนี้ข้าพเจ้านาย/นางสาว....................................ทนายความผู้ร้องเป็นผู้เรียง/เขียน
ลงชื่อ...........................................................ผู้เรียง /เขียน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น