JOB Ratchakarn
ประกันสังคมคืออะไร
เขียนโดย small ที่ 22:50
ประกันสังคมคืออะไร
เจตนารมณ์ของกฎหมายประกันสังคม กฎหมายประกันสังคมมีเจตนารมณ์ที่จะให้หลัก ประกันแก่ลูกจ้างและบุคคลอื่นซึ่งประสบอันตราย เจ็บป่วยทุพพลภาพ ตาย อันมิใช่เนื่องจากการทำ งาน รวมทั้งกรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และสำหรับ กรณีว่างงาน ซึ่งให้ หลักประกันเฉพาะลูกจ้าง และยังให้หลักประกัน แก่ลูกจ้างในระหว่างการปฏิบัติงานให้แก่นายจ้าง โดยคุ้มครองการประสบอันตราย หรือการเจ็บป่วย ที่มีสาเหตุเนื่องมาจากการทำงาน รวมถึงการสูญ เสียอวัยวะ ทุพพลภาพ และตาย หรือสูญหาย อัน เนื่องมาจากการทำงานให้แก่นายจ้างอีกด้วย
ครั้งแรก สำนักงานประกันสังคมกำหนดให้ความคุ้มครองลูกจ้างในสถานประกอบการ ที่มีลูกจ้างจำนวนตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป ส่วนผู้ประกอบการอาชีพอิสระที่ประสงค์จะประกันตนเองโดยความสมัครใจ สำนักงานประกันสังคมก็ได้เปิดโอกาสให้ทำได้ใน พ.ศ. 2537 ต่อมาเมื่อเดือนเมษายน 2545 ได้ขยายความคุ้มครองไปถึงนายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ซึ่งเป็นการขยายความคุ้มครองที่มีผลทำให้ลูกจ้างของนายจ้างขนาดเล็กได้รับการดูแล และมีหลักประกันความมั่นคงเช่นเดียวกับูกจ้างในสถานประกอบการขนาดใหญ่ ยังส่งผลให้คุณภาพชีวิตของลูกจ้างอยู่ในระดับมาตรฐานที่ดีขึ้น
ในปัจจุบัน ผู้ประกันตนสามารถไปรับการรักษาจากสถานพยาบาลใดๆก็ได้ภายใน 72 ชั่วโมง แล้วนำมาเบิกกับสำนักงานประกันสังคมได้ตามที่จ่ายจริง ในกรณีที่รับบริการจากสถานพยาบาลของรัฐ ส่วนสถานพยาบาลเอกชนเบิกได้ตามค่าใช้จ่ายจริงแต่ต้องไม่เกินอัตราที่กำหนด
นอกจากนี้สำนักงานประกันสังคม ยังได้ขยายวงเงิน สำหรับ การรักษาพยายบาลโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ เช่น
กรณีที่ใช้เคมีกำบัดและหรือรังสีรักษาในผู้ป่วยโรคมะเร็ง รายละไม่เกิน 30,000 บาท
กรณีรักษาโรคลิ้นหัวใจโดยใช้สายบอลลูนผ่านทางผิวหนัง รายละไม่เกิน 20,000 บาท
การถอนฟัน อุดฟัน และการขูดหินปูน
การปลูกถ่ายไขกระดูก การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
เมื่อผู้ประกันตนได้รับเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคมให้บริการรับประโยชน์ทดแทน ทั้งมารับด้วยตนเอง ที่สำนักงานประกันสังคมที่ตนขึ้นทะเบียนไว้ หรือสำนักงานประกันสังคมสั่งจ่ายทางธนาณัติหรือจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารกรุงไทย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สำหรับผู้ประกันตนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปัจจุบันนี้ ประเทศไทยใช้พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันสังคม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 เป็นกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ซึ่งเป็นเรื่องที่นักศึกษาจะต้องทำความเข้าใจสาระสำคัญของพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับนี้
ส่วนรายละเอียดในทางปฏิบัติ ให้สอบถามได้ที่สำนักงานประกันสังคมในจังหวัดของท่าน หรือศึกษา จากพระราชบัญญัติประกันสังคม ฉบับที่จัดทำโดยกองนิติกร สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงงานและสวัสดิการสังคม
กรณีผู้ประกันตนหรือเรียกกันดดยทั่งไปว่าลูกจ้างจะเป็นผู้ประกันตนหรือลูกจ้างถูกต้องตามพระราชบัญญัติประกันสังคม จะต้องมีอายุเท่าไร
มาตรา 33 บัญญัติว่า ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบูรณ์และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตนอยู่แล้วตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และยังเป็นลูฏจ้างของนายจ้างซึ่งอยู่ภ่ยใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าลูกจ้างนั้นเป็นผู้ประกันตนต่อไป
มาตรา 38 บัญญัติว่า
ความเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 สิ้นสุดลงเมื่อผู้ประกันตนนั้น
(1) ตาย
(2) สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง
การที่ผู้ประกันตนจะได้รับประโยชน์ทดแทนนั้น ทั้งผู้ประกันตนรัฐบาลและนายจ้างจะต้องออกเงินสมทบตามมาตรา 46 “ให้รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตราย หรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย และกรณีคลอดบุตร ฝ่ายละเท่ากันตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง แต่ต้องไม่เกินอัตราเงินสมท้ายพระราชบัญญัติดังนี้ ให้รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณี สงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงาน ตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวงแต่ต้องไม่เกินอัตราเงินสมทบพระราชบัญญัตินี้
เจตนารมณ์ของกฎหมายประกันสังคม กฎหมายประกันสังคมมีเจตนารมณ์ที่จะให้หลัก ประกันแก่ลูกจ้างและบุคคลอื่นซึ่งประสบอันตราย เจ็บป่วยทุพพลภาพ ตาย อันมิใช่เนื่องจากการทำ งาน รวมทั้งกรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และสำหรับ กรณีว่างงาน ซึ่งให้ หลักประกันเฉพาะลูกจ้าง และยังให้หลักประกัน แก่ลูกจ้างในระหว่างการปฏิบัติงานให้แก่นายจ้าง โดยคุ้มครองการประสบอันตราย หรือการเจ็บป่วย ที่มีสาเหตุเนื่องมาจากการทำงาน รวมถึงการสูญ เสียอวัยวะ ทุพพลภาพ และตาย หรือสูญหาย อัน เนื่องมาจากการทำงานให้แก่นายจ้างอีกด้วย
ครั้งแรก สำนักงานประกันสังคมกำหนดให้ความคุ้มครองลูกจ้างในสถานประกอบการ ที่มีลูกจ้างจำนวนตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป ส่วนผู้ประกอบการอาชีพอิสระที่ประสงค์จะประกันตนเองโดยความสมัครใจ สำนักงานประกันสังคมก็ได้เปิดโอกาสให้ทำได้ใน พ.ศ. 2537 ต่อมาเมื่อเดือนเมษายน 2545 ได้ขยายความคุ้มครองไปถึงนายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ซึ่งเป็นการขยายความคุ้มครองที่มีผลทำให้ลูกจ้างของนายจ้างขนาดเล็กได้รับการดูแล และมีหลักประกันความมั่นคงเช่นเดียวกับูกจ้างในสถานประกอบการขนาดใหญ่ ยังส่งผลให้คุณภาพชีวิตของลูกจ้างอยู่ในระดับมาตรฐานที่ดีขึ้น
ในปัจจุบัน ผู้ประกันตนสามารถไปรับการรักษาจากสถานพยาบาลใดๆก็ได้ภายใน 72 ชั่วโมง แล้วนำมาเบิกกับสำนักงานประกันสังคมได้ตามที่จ่ายจริง ในกรณีที่รับบริการจากสถานพยาบาลของรัฐ ส่วนสถานพยาบาลเอกชนเบิกได้ตามค่าใช้จ่ายจริงแต่ต้องไม่เกินอัตราที่กำหนด
นอกจากนี้สำนักงานประกันสังคม ยังได้ขยายวงเงิน สำหรับ การรักษาพยายบาลโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ เช่น
กรณีที่ใช้เคมีกำบัดและหรือรังสีรักษาในผู้ป่วยโรคมะเร็ง รายละไม่เกิน 30,000 บาท
กรณีรักษาโรคลิ้นหัวใจโดยใช้สายบอลลูนผ่านทางผิวหนัง รายละไม่เกิน 20,000 บาท
การถอนฟัน อุดฟัน และการขูดหินปูน
การปลูกถ่ายไขกระดูก การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
เมื่อผู้ประกันตนได้รับเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคมให้บริการรับประโยชน์ทดแทน ทั้งมารับด้วยตนเอง ที่สำนักงานประกันสังคมที่ตนขึ้นทะเบียนไว้ หรือสำนักงานประกันสังคมสั่งจ่ายทางธนาณัติหรือจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารกรุงไทย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สำหรับผู้ประกันตนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปัจจุบันนี้ ประเทศไทยใช้พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันสังคม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 เป็นกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ซึ่งเป็นเรื่องที่นักศึกษาจะต้องทำความเข้าใจสาระสำคัญของพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับนี้
ส่วนรายละเอียดในทางปฏิบัติ ให้สอบถามได้ที่สำนักงานประกันสังคมในจังหวัดของท่าน หรือศึกษา จากพระราชบัญญัติประกันสังคม ฉบับที่จัดทำโดยกองนิติกร สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงงานและสวัสดิการสังคม
กรณีผู้ประกันตนหรือเรียกกันดดยทั่งไปว่าลูกจ้างจะเป็นผู้ประกันตนหรือลูกจ้างถูกต้องตามพระราชบัญญัติประกันสังคม จะต้องมีอายุเท่าไร
มาตรา 33 บัญญัติว่า ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบูรณ์และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตนอยู่แล้วตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และยังเป็นลูฏจ้างของนายจ้างซึ่งอยู่ภ่ยใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าลูกจ้างนั้นเป็นผู้ประกันตนต่อไป
มาตรา 38 บัญญัติว่า
ความเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 สิ้นสุดลงเมื่อผู้ประกันตนนั้น
(1) ตาย
(2) สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง
การที่ผู้ประกันตนจะได้รับประโยชน์ทดแทนนั้น ทั้งผู้ประกันตนรัฐบาลและนายจ้างจะต้องออกเงินสมทบตามมาตรา 46 “ให้รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตราย หรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย และกรณีคลอดบุตร ฝ่ายละเท่ากันตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง แต่ต้องไม่เกินอัตราเงินสมท้ายพระราชบัญญัติดังนี้ ให้รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณี สงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงาน ตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวงแต่ต้องไม่เกินอัตราเงินสมทบพระราชบัญญัตินี้
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น