JOB Ratchakarn
(มาตรา 288 – 398.)กฎหมายอาญา
เขียนโดย small ที่ 00:09
ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
70. เจตนาฆ่า – ทำร้าย
เจตนาฆ่า ถ้าไม่บรรลุผล พยายามฆ่า
เจตนาทำร้าย ถ้าไม่บรรลุผล เจตนาทำร้าย
ถ้าตาย ฆ่าคนตายโดยไม่เจตนา (หรือทำร้ายถึงตาย) (ม.290)
71. สรุปย่อเกี่ยวกับ “ประมาท”
1) ขาดความระมัดระวัง, ไม่ระวังให้ดี, หรือดูให้ดีก็จะรู้ว่า…..
2) เกี่ยวกับเครื่องยนต์
- การชำรุดบกพร่องภายในตัวเครื่องยนต์ หรือขับรถด้วยความเร็ว
3) การหยอกล้อ, ล้อเล่น
4) มีความรู้ความสามารถ (แต่ไม่ควรกระทำเป็นประมาท
แต่ถ้าไม่มีความรู้ความสามารถถ้าไปกระทำถือได้ว่าเป็นเจตนาย่อมเล็งเห็นผล)
5) มีหน้าที่แต่ปล่อยปละละเลย (เป็นเรื่องงดเว้นโดยประมาทตาม มาตรา 59 วรรคท้าย)
6) เรื่องไม่สมควรกระทำอื่น ๆ
72. การใช้อาวุธมีด ให้ดูว่ามีโอกาสในการเลือกแทงหรือไม่
ถ้าไม่มีโอกาสในการเลือกแทง เป็นเจตนาทำร้าย
ถ้ามีโอกาสฯ ถ้าตำแหน่งสำคัญ เป็นเจตนาฆ่า
ถ้าตำแหน่งไม่สำคัญ เป็นเจตนาทำร้าย
73. คนละเจตนาเดียวกัน
คนละเจตนาเดียวกัน
เจตนาร่วมกันไปทำร้ายแต่ตัวการร่วมไปฆ่า มิได้เป็นตัวการร่วมแต่ทำต่อผู้ตายคนเดียว
คนฆ่าผิดฆ่า คนทำร้ายผิดฆ่าคนตาย คนฆ่าผิดฆ่า คนทำร้ายผิดทำร้าย
โดยไม่เจตนาตาม มาตรา 290
ฎ.779/2458 เจตนาของบุคคลไม่ใช่สิ่งที่จะถึงเห็นด้วยตาได้
ศาลยุติธรรมได้แต่พิจารณาดูกริยาอาการที่บุคคลแสดงปรากฏออกมาภายนอกโดยรอบคอบแล้วก็ลงเนื้อเห็นสันนิษฐานว่าบุคคลนั้นจะได้มีเจตนาดังนั้นดังนี้หรือหาไม่
74. ทำร้ายร่างกาย
ทำร้ายร่างกายแต่ไม่เป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ (มาตรา 295, 80, มาตรา 391)
เจตนา
มาตรา 295 มาตรา 391
(มิใช่มาตรา 295, 80)
ถ้าไม่บรรลุผล
(ไม่เป็นอันตรายแก่กายหรือจิตใจ) ผิด มาตรา 391
(มิใช่ มาตรา 295,80)
มาตรา 295, มาตรา 80 และมาตรา 391
75. ชุลมุนต่อสู้ (มาตรา 294, 299)
ชุลมุนต่อสู้
มาตรา 294 มาตรา 299
ถึงตาย ได้รับอันตรายสาหัส
สูตรย่อชุลมุนต่อสู้ (มาตรา 294/299) (เข้าใจคนเดียว)
“3 คน – 2 ฝ่าย ตาย, สาหัส ห้ามฯ, ป้องฯ ไม่ต้องรับโทษ”
ฎ. 791 -792/2504(ป) กรณีชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป และมีบุคคลถึงตาย ตาม ป.อ.มาตรา
294 นั้น หมายถึงกรณีที่ไม่ทราบว่าผู้ใดหรือผู้ใดร่วมกับใครทำร้ายผู้ตายถึงตาย
ถ้าเป็นกรณีที่ฝ่ายหนึ่งกลุ้มรุมทำร้ายผู้ตายถึงตาย ฝ่ายนั้นต้องรับผิดฐานร่วมกันฆ่าผู้ตายโดยเจตนา
ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น