JOB Ratchakarn
พนักงานธุรการ สำนักงาน ป.ป.ช. 2555
เขียนโดย small ที่ 07:10
1. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฉบับปัจจุบันแก้ไข
เพิ่มเติมฉบับใด พ.ศ. ใด
ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 ข. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551
ค. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 ง. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554
2. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 15 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” หมายความถึงบุคคลใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี
ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. ถูกทุกข้อ
4. การที่ทรัพย์สินหรือหนี้สินในบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ยื่น
เมื่อพ้นจากตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นเมื่อเข้ารับ
ตำแหน่งในลักษณะที่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือหนี้สินลดลงผิดปกติ หมายความถึงข้อใด
ก. ทุจริตต่อหน้าที่ ข. ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
ค. ร่ำรวยผิดปกติ ง. ทุจริตต่อหน้าที่
5. หมวด 1 ใน พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ข. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ค. การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน
ง. การไต่สวนข้อเท็จจริง
6. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่าอะไร
ก. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ข. คณะกรรมการ ปปช.
ค. คณะกรรมการ คปช. ง. คณะกรรมการ คกช.
7. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คน
ก. ห้าคน ข. หกคน
ค. เจ็ดคน ง. แปดคน
8. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำและยินยอมของผู้ใด
ก. วุฒิสภา ข. รัฐสภา
ค. คณะรัฐมนตรี ง. นายกรัฐมนตรี
9. ประธานวุฒิสภา จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการจำนวนกี่คน
ก. สิบคน ข. สิบสองคน
ค. สิบสามคน ง. สิบห้าคน
10. ข้อใดเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการ
ก. ประธานศาลฎีกา ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด ง. ถูกทุกข้อ
11. การคัดเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น ต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใดของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสอง ข. ไม่น้อยกว่าสองในสาม
ค. ไมน้อยกว่าสองในห้า ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่
12. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการนั้น ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด
ก. สามสิบห้าปีบริบูรณ์ ข. สี่สิบปีบริบูรณ์
ค. สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ง. ห้าสิบปีบริบูรณ์
13. กรรมการมีวาระในการดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่ได้รับการแต่งตั้ง
ก. สองปี ข. สี่ปี
ค. หกปี ง. เก้าปี
14. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง
ตามข้อใด
ก. ตาย ข. มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
ค. ต้องคำพิพากษาให้จำคุก
15. เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการสรรหาภายในกี่วันนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง
ก. ภายในเจ็ดวัน ข. ภายในสิบห้าวัน
ค. ภายในสามสิบวัน ง. ภายในสี่สิบห้าวัน
เพิ่มเติมฉบับใด พ.ศ. ใด
ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 ข. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551
ค. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 ง. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554
2. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 15 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” หมายความถึงบุคคลใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี
ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. ถูกทุกข้อ
4. การที่ทรัพย์สินหรือหนี้สินในบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ยื่น
เมื่อพ้นจากตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นเมื่อเข้ารับ
ตำแหน่งในลักษณะที่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือหนี้สินลดลงผิดปกติ หมายความถึงข้อใด
ก. ทุจริตต่อหน้าที่ ข. ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
ค. ร่ำรวยผิดปกติ ง. ทุจริตต่อหน้าที่
5. หมวด 1 ใน พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ข. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ค. การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน
ง. การไต่สวนข้อเท็จจริง
6. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่าอะไร
ก. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ข. คณะกรรมการ ปปช.
ค. คณะกรรมการ คปช. ง. คณะกรรมการ คกช.
7. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คน
ก. ห้าคน ข. หกคน
ค. เจ็ดคน ง. แปดคน
8. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำและยินยอมของผู้ใด
ก. วุฒิสภา ข. รัฐสภา
ค. คณะรัฐมนตรี ง. นายกรัฐมนตรี
9. ประธานวุฒิสภา จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการจำนวนกี่คน
ก. สิบคน ข. สิบสองคน
ค. สิบสามคน ง. สิบห้าคน
10. ข้อใดเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการ
ก. ประธานศาลฎีกา ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด ง. ถูกทุกข้อ
11. การคัดเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น ต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใดของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสอง ข. ไม่น้อยกว่าสองในสาม
ค. ไมน้อยกว่าสองในห้า ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่
12. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการนั้น ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด
ก. สามสิบห้าปีบริบูรณ์ ข. สี่สิบปีบริบูรณ์
ค. สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ง. ห้าสิบปีบริบูรณ์
13. กรรมการมีวาระในการดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่ได้รับการแต่งตั้ง
ก. สองปี ข. สี่ปี
ค. หกปี ง. เก้าปี
14. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง
ตามข้อใด
ก. ตาย ข. มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
ค. ต้องคำพิพากษาให้จำคุก
15. เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการสรรหาภายในกี่วันนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง
ก. ภายในเจ็ดวัน ข. ภายในสิบห้าวัน
ค. ภายในสามสิบวัน ง. ภายในสี่สิบห้าวัน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น