JOB Ratchakarn
สัญญาจะซื้อจะขาย
เขียนโดย small ที่ 06:31
สัญญาจะซื้อจะขาย
ทำที่…………………………………
วันที่………… เดือน …………………… พ.ศ. ………
สัญญานี้ทำขึ้นระหว่าง……………………………………………………………………………
สำนักงานอยู่เลขที่…………….ถนน………………………..ตำบล ………………………………………
อำเภอ……………………………………………จังหวัด…………………………………………………
(ต่อไปนี้จะเรียกว่า “ผู้จะขาย”) ฝ่ายหนึ่ง และ
ในฐานะตัวแทนของตัวการซึ่งไม่ประสงค์จะระบุชื่ออยู่ที่เลขที่…………ถนน………………….
(รวมเรียกว่า “ผู้จะซื้อ”) อีกฝ่ายหนึ่ง มีสาระสำคัญดังต่อไปนี้
1. ผู้จะขายเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดเลขที่…………………. ตำบล……………………..
อำเภอ…………………………………… จังหวัด………………………………………………………...
เนื้อที่ตามโฉนดรวมประมาณ………………………………….…… ซึ่งต่อไปจะเรียกว่า “ทรัพย์ที่จะขาย”
2. ผู้จะขายและผู้จะซื้อตกลงซื้อขายทรัพย์ที่จะขาย โดยเป็นการขายเหมายกแปลงเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น………………………….. บาท (…………………………………………………………………..)
โดยผู้จะซื้อได้ชำระราคาดังกล่าวให้แก่ผู้จะขายไว้เรียบร้อยแล้วในวันทำสัญญานี้ โดยเช็คธนาคาร……...
…………………………..เลขที่………………………….เงิน……………………………………….บาท
(………………………………………..) และเช็คธนาคาร ……………………………………………….
เลขที่ ………………………….. เงิน…………………… บาท (…………………………………………)
3. การโอนกรรมสิทธิ์ทรัพย์ที่จะขาย คู่กรณีทั้งสองฝ่ายตกลงจะจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ทรัพย์ที่จะ ขาย ณ สำนักงานที่ดิน เมื่อผู้จะซื้อได้รับอนุมัติจากทางราชการให้ทำการค้าที่ดินไม่ว่าในนาม
………………………………….. เอง และ/หรือ ในนามตัวการซึ่งไม่เปิดเผยเชื่อแล้ว โดยผู้จะซื้อจะต้องระบุชื่อตัวการซึ่งจะเข้าถือกรรมสิทธิ์ก่อนในบันทึกท้ายสัญญานี้ และจะต้องแจ้งกำหนดวันนัดโอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้จะขายทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วัน
กรณีจะเป็นด้วยประการใดก็ตาม ผู้จะซื้อจะต้องดำเนินการในวรรคแรกให้เสร็จสิ้นไปภายใน…………………………………. หากพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้ถือว่าผู้ที่จะระบุชื่อถือกรรมสิทธิ์ และผู้จะซื้อทรัพย์ที่จะขายตามสัญญานี้คือ…………………………………. เอง และรับผิดชอบในบรรดาความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ผู้จะขายทุกประการ
4. ค่าธรรมเนียม ค่าอากร ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นสำหรับการทำสัญญานี้ การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ผู้จะขายเป็นผู้รับภาระเองทั้งสิ้น
5. นับแต่วันที่ทำสัญญานี้ และผู้จะซื้อได้ชำระราคาตามข้อ 2. เรียบร้อยแล้ว ผู้จะซื้อมีสิทธิ์เข้าครอบครองและทำประโยชน์หรือปรับปรุงทรัพย์ที่จะขายได้ทันทีและให้ถือว่าผู้จะซื้อได้รับมอบการครอบครองทรัพย์ที่จะขายไปจากผู้ขายแล้วโดยสมบูรณ์ทันที
6. โดยเหตุที่การซื่อขายครั้งนี้เป็นการขายเหมายกแปลง ดังนั้น หากปรากฎภายหลังว่าทรัพย์ที่จะขายมีเนื้อที่ขาดตก หรือล้ำจำนวนไปกว่าที่ระบุในข้อ 1. แม้จะเพียงใดก็ตาม ทั้งผู้จะซื้อและผู้จะขายตกลงไม่ถือเป็นเหตุเลิกสัญญา และ/หรือเรียกร้องค่าทดแทนใด ๆ โดยเหตุในเรื่องนี้เป็นอันขาด
เพื่อเป็นหลักฐาน ผู้จะซื้อและผู้จะขาย ได้ลงลายมือไว้เป็นสำคัญ ณ วัน เดือน ปี ที่ระบุข้างต้น
ลงชื่อ…………………………………… ผู้จะขาย ลงชื่อ………………………………………. ผู้จะซื้อ
(……………………………………) (……………………………………….)
ลงชื่อ…………………………………… พยาน ลงชื่อ………………………………………. พยาน
(……………………………………) (……………………………………….)
พินัยกรรม
เขียนโดย small ที่ 06:31
พินัยกรรม
ของ
ยศ/นาย/นาง/นางสาว……………………………………………………………………………….
เขียนที่บ้านเลขที่…………..หมู่ที่……………ถนน……………………ตรอก/ซอย……………………….
ตำบล/แขวง………………….อำเภอ/เขต……………………………….จังหวัด………………………….
วันที่…………เดือน………………..พ.ศ………….…
ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว………………………………………………… อายุ………………..ปี
ขอทำพินัยกรรม ยกทรัพย์มรดกของข้าพเจ้าทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนี้และจะเกิดมีขึ้นในอนาคต โดยขอยก
ให้กับ (ยศ/นาย/นาง/นางสาว)…………………………………………………………………………………
ซึ่งเป็น……………………….ของข้าพเจ้าแต่เพียงผู้เดียวห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างเด็ดขาด
ในขณะที่ข้าพเจ้าเขียนพินัยกรรมฉบับนี้ ข้าพเจ้ามีสุขภาพสมบูรณ์มีสติสัมปชัญญะดี ไม่เจ็บป่วย
ข้าพเจ้าเขียนด้วยลายมือชื่อของข้าพเจ้าเองทั้งฉบับ
เพื่อเป็นหลักฐานอันสมบูรณ์ ข้าพเจ้าจึงได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ
ลงชื่อ..............................................................ผู้ทำพินัยกรรม
สัญญาขายฝาก
เขียนโดย small ที่ 06:30
สัญญาขายฝาก
ทำที่…………………………………………...
วันที่…………..เดือน…………………….พ.ศ.…………
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นระหว่าง …………………………………………………………………….อยู่บ้านเลขที่………………………………..ถนน………………………แขวง…………….………………...เขต…………….……………………………กรุงเทพมหานคร ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า “ผู้ขายฝาก” ฝ่ายหนึ่งกับ……………………………… ……………………………อยู่บ้านเลขที่ ………………………..ถนน……………………….แขวง……………………………อำเภอ/เขต…………….………………………กรุงเทพมหานคร ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า “ผู้ซื้อฝาก” อีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงทำสัญญากันมีข้อความดังต่อไปนี้
ข้อ 1. ผู้ขายฝากตกลงขายฝากและผู้ซื้อฝากตกลงรับซื้อฝาก ที่ดินโฉนดเลขที่………………...
เลขที่ดิน……………………………หน้าสำรวจ………………………………ตำบล…………………….….
อำเภอ…………………………จังหวัด………………………………พร้อมทั้งสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินดังกล่าว ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ขายฝาก เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น…………………บาท (……………………………..)
ข้อ 2. ผู้ซื้อตกลงให้ผู้ขายฝากไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝาก คืนได้ภายในกำหนดระยะ เวลา……….ปีนับแต่วันจดทะเบียนสัญญาขายฝากฉบับนี้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โดยกำหนดสินไถ่กันเป็นจำนวนเงิน
…………………………บาท (……………………………………………………..)
ข้อ 3. ค่าฤชาธรรมเนียมการขายฝากซึ่งผู้ซื้อได้ออกไปนั้น ผู้ไถ่ต้องใช้ให้แก่ผู้ซื้อพร้อมกัน สินไถ่ส่วนค่าฤชาธรรมเนียมการไถ่ทรัพย์นั้น ผู้ไถ่พึงออกใช้
ข้อ 4. ผู้ซื้อตกลงว่าจะไม่นำทรัพย์สินที่ขายฝากออกจำหน่ายถ้าผู้ซื้อจำหน่ายทรัพย์สินที่ขายฝากนั้นโดยฝ่าฝืนสัญญาข้อนี้ ผู้ซื้อต้องรับผิดต่อผู้ขายฝากในความเสียหายใดๆ อันเกิดแต่การนั้น
ข้อ 5. ในกรณีที่ผู้ขายฝากได้ใช้สิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากคืนภายในกำหนดเวลาตามข้อ 2. หากปรากฏว่าทรัพย์สินนั้นถูกทำลายหรือทำให้เสื่อมเสียไปเพราะความผิดของผู้ซื้อ ผู้ซื้อจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ขายฝาก
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับมีข้อความถูกต้องตรงกันทุกประการ ทั้งสองฝ่ายได้อ่าน และเข้าใจข้อความตามสัญญาโดยตลอดแล้วเห็นว่าถูกต้องตามเจตนา จึงลงลายมือชื่อให้เป็นหลักฐานต่อหน้าพยานและต่างยึดถือไว้ฝ่ายละฉบับ
ลงชื่อ…………………………………………ผู้ขายฝาก
(………………………………………..)
ลงชื่อ…………………………………………ผู้ซื้อ
(………………………………………..)
ลงชื่อ…………………………………………พยาน
(…………………………………………)
ลงชื่อ…………………………………………พยาน
(…………………………………………)
สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน
เขียนโดย small ที่ 06:29
สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน
วันที่…………..เดือน……………………… พ.ศ………….
สัญญานี้ทำขึ้นระหว่าง บริษัท…………………………………………..จำกัด ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า "ผู้จะขาย” ฝ่ายหนึ่ง กับ…………………….…...บัตรประชาชนเลขที่ …………………………….. อายุ……………….ปี อยู่บ้านเลขที่……………..ซอย ……………………….หมู่…………………ถนน……………………………แขวง/ตำบล…………………………………………...เขต/อำเภอ………………………..จังหวัด…………………………….โทรศัพท์…………………………….
ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า "ผู้จะซื้อ" อีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายตกลงสัญญากันซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้:-
1. ผู้จะขายตกลงจะขายที่ดินแปลงหมายเลขที่………………….เนื้อที่…………………..ตารางวา
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโฉนดเลขที่ ………….. ตั้งอยู่แขวง………………………….เขต…………………… ซึ่งจะขายตกลงจะขายที่ดินแปลงดังกล่าว ซึ่งไม่มีสิ่งปลูกสร้างและยังไม่ได้ทำการปรับปรุงให้แก่ผู้จะซื้อในราคาตารางวาละ…………….………….บาท (…………………………………………)
รวมเป็นค่าเงินค่าที่ดินทั้งหมด ………………….. บาท (…………………………………………….) และ
ผู้จะซื้อตกลงจะซื้อ
2. ผู้จะซื้อทราบดีว่าที่ดินแปลงดังกล่าวยังอยู่ในระหว่างแบ่งแยก หากต่อมาเมื่อผู้จะขายได้ทำการแบ่งแยกเสร็จเรียบร้อยปรากฎว่ามีที่ดินขาดหรือเกินจากเนื้อที่ที่กำหนดไว้ในข้อ 1. คู่สัญญาตกลงลดหรือเพิ่มเงินตามที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ ในราคาตารางวาละ …………………… บาท (……………………………..
………………………………)
3. ในวันทำสัญญานี้ ผู้จะซื้อได้ชำระเงินจำนวน. ……………… บาท (……………………………..
………………………………………..……) ให้ผู้จะขายรับไว้เรียบร้อยแล้วในวันนี้ ส่วนที่เหลืออีกจำนวน
…………………… บาท (……………………………..……) ตกลงผ่อนชำระเป็น 4 งวดดังนี้คือ
งวดที่ 1 ชำระเงิน…………………… บาท (……….………………………………………)
ภายในวันที่………….. เดือน ………………………. พ.ศ. ………………….
งวดที่ 2 ชำระเงิน…………………… บาท (……….………………………………………)
ภายในวันที่………….. เดือน ………………………. พ.ศ. ………………….
งวดที่ 3 ชำระเงิน…………………… บาท (……….………………………………………)
ภายในวันที่………….. เดือน ………………………. พ.ศ. ………………….
งวดที่ 4 ชำระเงิน…………………… บาท (……….………………………………………)
ภายในวันที่………….. เดือน ………………………. พ.ศ. ………………….
งวดสุดท้ายผู้จะซื้อตกลงชำระเงินส่วนที่เหลือจำนวน…………………… บาท (……….…………..
………………….…………) ภายในกำหนด 7 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้จะขายพร้อมนัดโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ณ สำนักงานทะเบียนที่ดินเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร
เมื่อผู้จะซื้อได้ทำสัญญาฉบับนี้แล้วมีสิทธิจะเข้าไปทำประโยชน์ในที่ดินแปลงนี้ได้แต่จะเข้าอยู่อาศัยในที่ดินได้ก็ต่อเมื่อผู้จะซื้อได้ชำระเงินครบตามสัญญาแล้ว
หากผู้ซื้อผิดนัดชำระเงินงวดหนึ่งงวดใด หรือปฏิบัติผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใด ผู้จะขายมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญาได้ทันที และผู้จะซื้อยินยอมให้ผู้จะขายริบเงินที่ชำระมาแล้วทั้งหมด
สัญญานี้ทำขึ้นสองฉบับมีข้อความถูกต้องตรงกันคู่สัญญาได้อ่านและเข้าใจโดยตลอดแล้วเห็นว่าตรงตามเจตนา จึงได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญต่อหน้าพยาน
ลงชื่อ………………………………………ผู้จะซื้อ
(………………………………………)
ลงชื่อ………………………………………ผู้จะขาย
(………………………………………)
ผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัท
ลงชื่อ………………………………………พยาน
(………………………………………)
ลงชื่อ………………………………………พยาน
(………………………………………)
สัญญาจ้างทำการก่อสร้าง
เขียนโดย small ที่ 06:29
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นที่………………………………….. เมื่อวันที่…………………………………
ระหว่าง………………………………อายุ…………ปี ถือบัตรประจำตัวประชาชนเลขที่……………………
ออกให้ ณ ………………………………..เมื่อวันที่……………………………อยู่บ้านเลขที่…………………
ถนน………………………… แขวง……………………………… เขต……………………………………….
กรุงเทพมหานคร ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า "ผู้ว่าจ้าง" ฝ่ายหนึ่ง กับ………………………………………..
………………………………ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า "ผู้รับจ้าง" อีกฝ่ายหนึ่ง คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลง
ทำสัญญานี้ขึ้น โดยมีเงื่อนไขรายละเอียดดังต่อไปนี้
ข้อ 1. ผู้ว่าจ้างตกลงจ้างและผู้รับจ้างตกลงรับจ้างทำการก่อสร้างอาคารตึกพักอาศัยชั้นเดียวหนึ่งหลัง
และที่จอดรถหนึ่งหลัง โดยผู้รับจ้างตกลงยินยอมปฏิบัติตามเอกสารที่แนบท้ายสัญญานี้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่ง
ของสัญญานี้ด้วย คือ แบบแปลนแผนผังและหนังสืออนุญาตให้ปลูกสร้างอาคารที่……………………………
ออกให้โดยที่ว่าการเขต………………………… อนุญาตให้ผู้ว่าจ้างเมื่อวันที่…………………………………..
ข้อ 2. ผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายค่าจ้างให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็นเงิน…………..บาท (………………………………)
โดยผู้รับจ้างตกลงว่าค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ในการก่อสร้างตามสัญญานี้รวมทั้งค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ค่าสัมภาระ
ต่าง ๆ ผู้รับจ้างเป็นฝ่ายออกเองและจัดหามาแต่เพียงฝ่ายเดียว
ข้อ 3. ผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายค่าจ้าง โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากยอดค่าจ้างจำนวนดังกล่าวใน ข้อ 2. ให้แก่
ผู้รับจ้าง ตามกำหนดระยะเวลาดังนี้
3.1 จ่าย 10 เปอร์เซ็นต์ ในวันทำสัญญานี้
3.2 จ่าย 20 เปอร์เซ็นต์ ในวันที่………………………………………………………………..
3.3 จ่าย 20 เปอร์เซ็นต์ ในวันที่………………………………………………………………..
3.4 จ่าย 20 เปอร์เซ็นต์ ในวันที่………………………………………………………………..
3.5 จ่าย 20 เปอร์เซ็นต์ ในวันที่………………………………………………………………..
3.6 จ่าย 20 เปอร์เซ็นต์ ในวันที่………………………………………………………………..
ข้อ 4. ผู้รับจ้างให้สัญญาว่าจะทำการก่อสร้างตามสัญญานี้ให้แล้วเสร็จ ภายในวันที่………………
………………………………………
ข้อ 5. ภายในหกเดือนนับจากวันที่ผู้ว่าจ้างได้รับมอบงานการก่อสร้างตามสัญญานี้จากผู้รับจ้าง
ไม่ว่าเพราะเหตุใด ๆ หากปรากฏว่า มีความชำรุดบกพร่องเสียหายเกิดขึ้นกับงานการก่อสร้างที่ผู้ว่าจ้างได้รับ
มอบงานมานั้น ผู้รับจ้างตกลงว่าจะทำการแก้ไขซ่อมแซมให้เรียบร้อยในทันทีที่ผู้ว่าจ้างให้ทราบ โดยผู้รับจ้าง
ไม่ขอคิดค่าจ้าง ค่าแรงงาน ค่าสัมภาระสิ่งของ หรือค่าตอบแทนใด ๆ จากผู้รับจ้างไม่ทำการให้เรียบร้อยภายใน
เจ็ดวัน นับจากวันที่ผู้ว่าจ้างแจ้งให้ทราบ ผู้ว่าจ้างมีสิทธิจ้างผู้อื่นมาทำการแทนได้ โดยผู้รับจ้างยินยอมจ่ายค่า
ใช้จ่ายแทนผู้ว่าจ้างจนครบจำนวน
ข้อ 6. ผู้รับจ้างยอมรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุหรือภยันตรายหรือความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้น
เนื่องจากงานจ้างหรือเกี่ยวพันกับงานตามสัญญานี้ และยอมรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สิน
ของผู้ว่าจ้าง โดยผู้รับจ้างยอมให้ผู้ว่าจ้างหักเงินค่าเสียหายออกจากค่าจ้างในข้อ 2. ได้ทันที โดยไม่มีข้อโต้แย้ง
ใด ๆ ทั้งสิ้น
ข้อ 7. ถ้าปรากฏว่าผู้รับจ้างทำการผิดสัญญานี้ข้อหนึ่งข้อใดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดก็ดี หรือทำการ
ชักชวนจนผู้ว่าจ้างเห็นว่าผู้รับจ้างจะทำการให้แล้วเสร็จไม่ทันเวลาตามที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ก็ดี ผู้ว่าจ้าง
มีสิทธิเลิกสัญญานี้ได้ทันทีโดยไม่ต้องชดใช้ค่าเสียหายหรือจ่ายค่าตอบแทนอย่างหนึ่งอย่างใดแก่ผู้รับจ้าง
และผู้ว่าจ้างไม่ต้องจ่ายเงินค่าจ้างหรือค่าวัสดุใด ๆ ให้แก่ผู้รับจ้างอีกด้วย โดยผู้รับจ้างยินยอมให้วัสดุและ
สัมภาระตลอดจนทรัพย์สินอื่น ๆ ของผู้รับจ้างที่มีอยู่ในการก่อสร้างตามสัญญานี้ ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของ
ผู้ว่าจ้างทั้งสิ้น ในทันทีที่ผู้ว่าจ้างเลิกสัญญา
ข้อ 8. เมื่อการก่อสร้างตามสัญญานี้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องขนย้ายสัมภาระและสิ่งของ
เครื่องมือเครื่องใช้ในการก่อสร้าง รวมทั้งทำความสะอาดในสถานที่ที่ทำการก่อสร้างให้เรียบร้อยภายใน
เจ็ดวัน นับจากวันที่ผู้ว่าจ้างได้รับมอบงานจากผู้รับจ้าง มิฉะนั้นผู้ว่าจ้างมีสิทธิจ้างผู้อื่นมาขนย้ายออกไปและ
เรียกเก็บค่าใช้จ่ายค่าเสียหายจากผู้รับจ้างได้
สัญญานี้ทำขึ้นไว้เป็นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายเข้าใจข้อความ
แห่งสัญญานี้ดีโดยตลอดแล้ว เห็นว่าถูกต้องตรงตามเจตนารมณ์แห่งตน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน
ต่อหน้าพยาน และต่างยึดถือไว้ฝ่ายละฉบับ
ลงลายมือชื่อ……………………………………….ผู้ว่าจ้าง
(…………………………………………….)
ลงลายมือชื่อ……………………………………….ผู้รับจ้าง
(…………………………………………….)
ลงลายมือชื่อ……………………………………….พยาน
(…………………………………………….)
ลงลายมือชื่อ……………………………………….พยาน
(…………………………………………….)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...