JOB Ratchakarn
สัญญาขายฝาก
เขียนโดย small ที่ 06:30
สัญญาขายฝาก
ทำที่…………………………………………...
วันที่…………..เดือน…………………….พ.ศ.…………
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นระหว่าง …………………………………………………………………….อยู่บ้านเลขที่………………………………..ถนน………………………แขวง…………….………………...เขต…………….……………………………กรุงเทพมหานคร ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า “ผู้ขายฝาก” ฝ่ายหนึ่งกับ……………………………… ……………………………อยู่บ้านเลขที่ ………………………..ถนน……………………….แขวง……………………………อำเภอ/เขต…………….………………………กรุงเทพมหานคร ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า “ผู้ซื้อฝาก” อีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงทำสัญญากันมีข้อความดังต่อไปนี้
ข้อ 1. ผู้ขายฝากตกลงขายฝากและผู้ซื้อฝากตกลงรับซื้อฝาก ที่ดินโฉนดเลขที่………………...
เลขที่ดิน……………………………หน้าสำรวจ………………………………ตำบล…………………….….
อำเภอ…………………………จังหวัด………………………………พร้อมทั้งสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินดังกล่าว ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ขายฝาก เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น…………………บาท (……………………………..)
ข้อ 2. ผู้ซื้อตกลงให้ผู้ขายฝากไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝาก คืนได้ภายในกำหนดระยะ เวลา……….ปีนับแต่วันจดทะเบียนสัญญาขายฝากฉบับนี้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โดยกำหนดสินไถ่กันเป็นจำนวนเงิน
…………………………บาท (……………………………………………………..)
ข้อ 3. ค่าฤชาธรรมเนียมการขายฝากซึ่งผู้ซื้อได้ออกไปนั้น ผู้ไถ่ต้องใช้ให้แก่ผู้ซื้อพร้อมกัน สินไถ่ส่วนค่าฤชาธรรมเนียมการไถ่ทรัพย์นั้น ผู้ไถ่พึงออกใช้
ข้อ 4. ผู้ซื้อตกลงว่าจะไม่นำทรัพย์สินที่ขายฝากออกจำหน่ายถ้าผู้ซื้อจำหน่ายทรัพย์สินที่ขายฝากนั้นโดยฝ่าฝืนสัญญาข้อนี้ ผู้ซื้อต้องรับผิดต่อผู้ขายฝากในความเสียหายใดๆ อันเกิดแต่การนั้น
ข้อ 5. ในกรณีที่ผู้ขายฝากได้ใช้สิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากคืนภายในกำหนดเวลาตามข้อ 2. หากปรากฏว่าทรัพย์สินนั้นถูกทำลายหรือทำให้เสื่อมเสียไปเพราะความผิดของผู้ซื้อ ผู้ซื้อจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ขายฝาก
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับมีข้อความถูกต้องตรงกันทุกประการ ทั้งสองฝ่ายได้อ่าน และเข้าใจข้อความตามสัญญาโดยตลอดแล้วเห็นว่าถูกต้องตามเจตนา จึงลงลายมือชื่อให้เป็นหลักฐานต่อหน้าพยานและต่างยึดถือไว้ฝ่ายละฉบับ
ลงชื่อ…………………………………………ผู้ขายฝาก
(………………………………………..)
ลงชื่อ…………………………………………ผู้ซื้อ
(………………………………………..)
ลงชื่อ…………………………………………พยาน
(…………………………………………)
ลงชื่อ…………………………………………พยาน
(…………………………………………)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น