JOB Ratchakarn
พินัยกรรม
เขียนโดย small ที่ 07:23
พินัยกรรม
พินัยกรรมฉบับนี้ทำที่บ้านเลขที่............................ซอย........................ถนน.......................................
แขวง..................................เขต................................................กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่.................................
ข้าพเจ้า......................................................................ได้คำนึงถึงสังขารขอบตนเองแล้ว ก็เห็นว่ามีอายุ
มากแล้ว จึงถือโอกาสที่ยังมีสติสัมปชัญญะดีอยู่นี้ สั่งการเกี่ยวกับทรัพย์สินเมื่อข้าพเจ้าถึงแก่กรรมแล้ว
ฉะนั้นข้าพเจ้าจึงขอทำพินัยกรรมสั่งการไว้ดังต่อไปนี้ :
ข้อ 1. ข้าพเจ้าขอยกบ้านเลขที่........................... ซอย........................แขวง..........................................
เขต........................................ กรุงเทพมหานคร ซึ่งปลูกอยู่ทีดินโฉนดเลขที่ ........................... เล่ม ................
หน้า......................... เลขทีดิน........................หน้าสำรวจ..........................ตำบล ............................................
อำเภอ...................................... กรุงเทพมหานคร อันเป็นเรือนพักหลังใหญ่ พร้อมทีดินเฉพาะส่วนที่เป็น
ที่ตั้งของบ้านดั้งกล่าว ให้แก่........................................................แต่เพียงผู้เดียว
ข้อ 2. ข้าพเจ้าขอยกบ้านอันเป็นเรือนพักหลังเล็ก ที่ปลูกอยู่บนทีดิน โฉนดเลขที่.................................
เล่ม.......................หน้า......................เลขทีดิน.....................หน้าสำรวจ.....................ตำบล..............................
อำเภอ.............................กรุงเทพมหานคร พร้อมที่ดินเฉพาะส่วนที่เป็นที่ตั้งของบ้านเรือนพักหลังเล็ก
ดังกล่าวให้.....................................................................แต่เพียงผู้เดียว
ข้อ 3. ข้าพเจ้าขอยกมีดินโฉนดเลขที่..................เล่ม...................หน้า.......................เลขทีดิน.............
หน้าสำรวจ.......................ตำบล........................................อำเภอ.......................................กรุงเทพมหานคร
ส่วนทีเหลือจากที่ยกให้แก่บุคคลตามที่กล่าวไว้ในข้อ 1. และข้อ 2. ข้างต้นให้แก่...........................................
...........................และ..............................................คนละส่วนเท่า ๆ กัน
ข้อ 4. ข้าพเจ้าขอยกจักรเย็บผ้าไฟฟ้า ยี่ห้อ..............................................................ตลอดจนเสื้อผ้า
และเครื่องนุ่งห่มของข้าพเจ้าทั้งหมดให้แก่...............................................................................
ข้อ 5. ทรัพย์สินต่าง ๆ นอกจากที่ระบุไว้ในข้อ 1. ถึงข้อ 4. ข้างต้นแล้ว ข้าพเจ้าขอยกให้แก่
.....................................................แต่เพียงผู้เดียว แต่ถ้าหาก..........................................................................
เห็นควรแบ่งทรัพย์สินที่ตนได้รับมาตามข้อนี้ให้แก่พี่น้องคนใดแล้วก็ให้เป็นไปตามที่...............................
.......................................................จะเห็นสมควรต่อไปด้วย
ข้อ 6. ข้าพเจ้าขอแต่งตั้งให้............................................................เป็นผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม
ของข้าพเจ้า
อนึ่ง เนื่องจากข้าพเจ้าเคยทำพินัยกรรมไว้แล้วรวม 2 ครั้ง ดังนั้นข้าพเจ้าจึงขอยกเลิกพินัยกรรมที่ข้าพเจ้าเคยทำไว้ก่อนหน้านี้เสียทั้งสิ้น
พินัยกรรมนี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับพิมพ์ครั้งเดยวมีข้อความถูกต้องเป็นอย่างเดียวกัน ข้าพจ้าได้ทราบข้อความทั้งหมดแล้วเห็นว่าตรงตามเจตนาของข้าพเจ้าทุกข้อทุกประการ ดังนั้น จึงได้ลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าผู้นั่งเป็นพยาน และให้.................................................................................ผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมนี้
เป็นผู้รักษาไว้หนึ่งฉบับ ให้...........................................................................เป็นผู้เก็บรักษาอีกหนึ่งฉบับ
ลงชื่อ............................................ผู้ทำพินัยกรรม
ข้าพเจ้าผู้เป็นพยานในพินัยกรรมนี้ ขอรับรองและยืนยันว่าได้อ่านพินัยกรรมนี้และสอบถามเจตนา
ของผู้ทำพินัยกรรมนี้แล้ว ผู้ทำพินัยกรรมยืนยันว่า พินัยกรรมนี้ถูกต้องตรงกับเจตนาแท้จริงของผู้ทำพินัย
และลงลายมือชื่อต่อหน้าข้าพเจ้าผู้เป็นพยาน ข้าพเจ้าจึงได้ลงลายมือชื่อรับรองเป็นพยาน ไว้เป็นหลักฐาน
พร้อมกัน
ลงชื่อ..............................................พยาน
ลงชื่อ..............................................พยาน
ข้าพเจ้า..........................................................ผู้พิมพ์พินัยกรรมฉบับนี้ ขอยืนยันว่าพินัยกรรมนี้
ได้พิมพ์ขึ้นครั้งเดียวจำนวนสองฉบับ ข้อความถูกต้องเป็นอย่างเดียวกัน
ลงชื่อ..............................................ผู้พิมพ์
พินัยกรรมฉบับนี้ทำที่บ้านเลขที่............................ซอย........................ถนน.......................................
แขวง..................................เขต................................................กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่.................................
ข้าพเจ้า......................................................................ได้คำนึงถึงสังขารขอบตนเองแล้ว ก็เห็นว่ามีอายุ
มากแล้ว จึงถือโอกาสที่ยังมีสติสัมปชัญญะดีอยู่นี้ สั่งการเกี่ยวกับทรัพย์สินเมื่อข้าพเจ้าถึงแก่กรรมแล้ว
ฉะนั้นข้าพเจ้าจึงขอทำพินัยกรรมสั่งการไว้ดังต่อไปนี้ :
ข้อ 1. ข้าพเจ้าขอยกบ้านเลขที่........................... ซอย........................แขวง..........................................
เขต........................................ กรุงเทพมหานคร ซึ่งปลูกอยู่ทีดินโฉนดเลขที่ ........................... เล่ม ................
หน้า......................... เลขทีดิน........................หน้าสำรวจ..........................ตำบล ............................................
อำเภอ...................................... กรุงเทพมหานคร อันเป็นเรือนพักหลังใหญ่ พร้อมทีดินเฉพาะส่วนที่เป็น
ที่ตั้งของบ้านดั้งกล่าว ให้แก่........................................................แต่เพียงผู้เดียว
ข้อ 2. ข้าพเจ้าขอยกบ้านอันเป็นเรือนพักหลังเล็ก ที่ปลูกอยู่บนทีดิน โฉนดเลขที่.................................
เล่ม.......................หน้า......................เลขทีดิน.....................หน้าสำรวจ.....................ตำบล..............................
อำเภอ.............................กรุงเทพมหานคร พร้อมที่ดินเฉพาะส่วนที่เป็นที่ตั้งของบ้านเรือนพักหลังเล็ก
ดังกล่าวให้.....................................................................แต่เพียงผู้เดียว
ข้อ 3. ข้าพเจ้าขอยกมีดินโฉนดเลขที่..................เล่ม...................หน้า.......................เลขทีดิน.............
หน้าสำรวจ.......................ตำบล........................................อำเภอ.......................................กรุงเทพมหานคร
ส่วนทีเหลือจากที่ยกให้แก่บุคคลตามที่กล่าวไว้ในข้อ 1. และข้อ 2. ข้างต้นให้แก่...........................................
...........................และ..............................................คนละส่วนเท่า ๆ กัน
ข้อ 4. ข้าพเจ้าขอยกจักรเย็บผ้าไฟฟ้า ยี่ห้อ..............................................................ตลอดจนเสื้อผ้า
และเครื่องนุ่งห่มของข้าพเจ้าทั้งหมดให้แก่...............................................................................
ข้อ 5. ทรัพย์สินต่าง ๆ นอกจากที่ระบุไว้ในข้อ 1. ถึงข้อ 4. ข้างต้นแล้ว ข้าพเจ้าขอยกให้แก่
.....................................................แต่เพียงผู้เดียว แต่ถ้าหาก..........................................................................
เห็นควรแบ่งทรัพย์สินที่ตนได้รับมาตามข้อนี้ให้แก่พี่น้องคนใดแล้วก็ให้เป็นไปตามที่...............................
.......................................................จะเห็นสมควรต่อไปด้วย
ข้อ 6. ข้าพเจ้าขอแต่งตั้งให้............................................................เป็นผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม
ของข้าพเจ้า
อนึ่ง เนื่องจากข้าพเจ้าเคยทำพินัยกรรมไว้แล้วรวม 2 ครั้ง ดังนั้นข้าพเจ้าจึงขอยกเลิกพินัยกรรมที่ข้าพเจ้าเคยทำไว้ก่อนหน้านี้เสียทั้งสิ้น
พินัยกรรมนี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับพิมพ์ครั้งเดยวมีข้อความถูกต้องเป็นอย่างเดียวกัน ข้าพจ้าได้ทราบข้อความทั้งหมดแล้วเห็นว่าตรงตามเจตนาของข้าพเจ้าทุกข้อทุกประการ ดังนั้น จึงได้ลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าผู้นั่งเป็นพยาน และให้.................................................................................ผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมนี้
เป็นผู้รักษาไว้หนึ่งฉบับ ให้...........................................................................เป็นผู้เก็บรักษาอีกหนึ่งฉบับ
ลงชื่อ............................................ผู้ทำพินัยกรรม
ข้าพเจ้าผู้เป็นพยานในพินัยกรรมนี้ ขอรับรองและยืนยันว่าได้อ่านพินัยกรรมนี้และสอบถามเจตนา
ของผู้ทำพินัยกรรมนี้แล้ว ผู้ทำพินัยกรรมยืนยันว่า พินัยกรรมนี้ถูกต้องตรงกับเจตนาแท้จริงของผู้ทำพินัย
และลงลายมือชื่อต่อหน้าข้าพเจ้าผู้เป็นพยาน ข้าพเจ้าจึงได้ลงลายมือชื่อรับรองเป็นพยาน ไว้เป็นหลักฐาน
พร้อมกัน
ลงชื่อ..............................................พยาน
ลงชื่อ..............................................พยาน
ข้าพเจ้า..........................................................ผู้พิมพ์พินัยกรรมฉบับนี้ ขอยืนยันว่าพินัยกรรมนี้
ได้พิมพ์ขึ้นครั้งเดียวจำนวนสองฉบับ ข้อความถูกต้องเป็นอย่างเดียวกัน
ลงชื่อ..............................................ผู้พิมพ์
สัญญาค้ำประกัน
เขียนโดย small ที่ 07:22
การกู้ยืมเงินกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้น ณ………………………………..ตำบล / แขวง………………………………..
อำเภอ / เขต……………………..จังหวัด……………………….เมื่อวันที่…………เดือน…………………...
พ.ศ…………………..โดยข้าพเจ้า……………………………………………….อายุ……………………ปี
บัตรประจำตัวข้าราชการ / บัตรประจำตัวประชาชนเลขที่…………………………………………………….
ถนน…………………………ตรอกหรือซอย……………………….ตำบล / แขวง…………………………
อำเภอ / เขต ………………………….จังหวัด……………………………รับราชการ / รับจ้าง ณ สำนักงาน /
บริษัท………………………...ตำแหน่ง…………………………อัตราเงินเดือน……………………….บาท
กอง…………………………………กรม………………………………กระทรวง………………………….
ตั้งอยู่ที่………………………….โทรศัพท์………………………..ขอทำสัญญาค้ำประกัน………………….
ฉบับนี้ให้ไว้ต่อกรม………………………………..ดังมีข้อความต่อไปนี้
ข้อ 1. ตามที่…………………………………………………………………………………………..
ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้กู้ยืม” ได้รับอนุมัติให้กู้ยืมเงินทุนตามระเบียบคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการว่าด้วยการจัดหาผลประโยชน์และการใช้จ่ายเงินของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2536 และได้ทำสัญญาเงินกู้ยืมเงินกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการกับ………………………………………….ตามสัญญา
เลขที่…………../……………..ลงวันที่………………………เป็นจำนวนเงิน…………………………..บาท
(……………………………………….) นั้น
ข้าพเจ้าตกลงยินยอมผูกพันตน เป็นผู้ค้ำประกันผู้กู้ยืมตามสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าวซึ่งได้กู้ยืมเงินจากกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กรม…………………..ไปลงทุนประกอบอาชีพจำนวน……………..บาท
(………………………………………) ปรากฏตามหนังสือสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าวข้างต้น
ข้อ 2. ถ้าผู้กู้ยืมไม่ชำระเงินตามกำหนดหรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าวข้อหนึ่ง ข้อใด ซึ่งกรม…………………………………มีสิทธิเรียกให้ชำระหนี้และ / หรือค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ จากผู้กู้ยืมได้แล้ว ข้าพเจ้ายินยอมชำระเงินดังกล่าวทั้งหมดแทน ให้ทันทีโดยมิต้องเรียกร้องให้ผู้กู้ยืมชำระก่อน โดยให้ถือเสมือนหนึ่งข้าพเจ้าเป็นลูกหนี้ร่วมกับผู้กู้ยืม
ข้อ 3. ในกรณีที่กรม………………………………..ผู้ให้กู้ยืมได้ยินยอมให้ผัดหรือผ่อนเวลา ชำระหนี้หรือผ่อนผันการปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญากู้ยืมเงินให้แก่ผู้กู้ยืม ให้ถือว่าข้าพเจ้าตกลงด้วยในการผ่อนเวลานั้น โดยมิพักต้องแจ้งให้ข้าพเจ้าทราบก็ได้
ข้อ 4. ข้าพเจ้าจะดูแลและตักเตือนผู้กู้ยืม ให้ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับและสัญญาที่ทำไว้ต่อกรมประชาสงเคราะห์ทุกประการ
ข้อ 5. ข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้ำประกันตลอดระยะเวลาที่ผู้กู้ยืมต้องรับผิดชอบตามเงื่อนไข ในสัญญากู้ยืมเงิน
ข้อ 6. หากมีการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งของกรม…………………………...เอง เป็นเหตุให้ข้าพเจ้า
ไม่อาจเข้าไปรับช่วง ได้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนในสิทธิใด ๆ อันได้ให้ไว้แก่กรม…………………...แต่ก่อน
หรือในขณะหรือภายหลังที่ข้าพเจ้าทำหนังสือค้ำประกันนี้ก็ตาม ข้าพเจ้าก็ยังยินยอมรับผิดในการค้ำประกัน ตามหนังสือสัญญานี้ต่อไป
ข้อ 7. หากปรากฏว่าลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชำระหนี้เพราะเป็นผู้ไร้ความสามารถหรือลูกหนี้ทำหนังสือสัญญาให้ไว้ต่อกรม………………………ด้วยความสำคัญผิด ข้าพเจ้าจะไม่อ้างเหตุความไร้ความสามารถของลูกหนี้หรือความสำคัญผิดของลูกหนี้ในขณะที่เข้าทำสัญญาเพื่อปฏิเสธความรับผิดต่อกรม….………….
………………………………..
ข้อ 8. แม้ในกรณีที่ลูกหนี้ถึงแก่ความตาย ข้าพเจ้ายินยอมชำระหนี้ของลูกหนี้ให้แก่กรม……………
…………………………..ตามสัญญาค้ำประกันนี้ทุกประการ โดยข้าพเจ้ายอมสละสิทธิ์ไม่ยกข้อต่อสู้ของทายาทหรือผู้จัดการมรดกของผู้กู้ยืมในเรื่องอายุความขึ้นต่อสู้กรมประชาสงเคราะห์
ข้อ 9. เพื่อเป็นหลักฐานในการค้ำประกัน ข้าพเจ้าขอแสดงหลักทรัพย์ซึ่งข้าพเจ้ามีกรรมสิทธ์แต่เพียงผู้เดียว โดยปลอดจากภาระผูกพันใด ๆ ทั้งสิ้น ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ข้อ 10. หากผู้กู้ยืมผิดสัญญา ข้าพเจ้าสัญญาว่าจะไปตกลงกับ ผู้บังคับบัญชาหรือนายจ้างของข้าพเจ้าให้หักเงินเดือนหรือเงินรายได้อื่นใดของข้าพเจ้า อันควรได้รับตามกฎหมายเพื่อชำระเงินแทนผู้กู้ยืม จนครบถ้วนตามสัญญา
ข้าพเจ้าได้ทราบข้อความในหนังสือสัญญากู้ยืมและหนังสือสัญญาค้ำประกันรายนี้เป็นที่เข้าใจดีโดยตลอดแล้ว จึงลงลายมือชื่อให้ไว้เป็นหลักบานสำคัญต่อหน้าพยาน
ลงชื่อ………………………....ผู้ค้ำประกัน ลงชื่อ…………………………….ผู้ให้กู้ยืม
(…………………………..….) (…………………………………)
ลงชื่อ…………………………..พยาน ลงชื่อ……………………………..พยาน
(……………………………..) (…………………………………)
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้น ณ………………………………..ตำบล / แขวง………………………………..
อำเภอ / เขต……………………..จังหวัด……………………….เมื่อวันที่…………เดือน…………………...
พ.ศ…………………..โดยข้าพเจ้า……………………………………………….อายุ……………………ปี
บัตรประจำตัวข้าราชการ / บัตรประจำตัวประชาชนเลขที่…………………………………………………….
ถนน…………………………ตรอกหรือซอย……………………….ตำบล / แขวง…………………………
อำเภอ / เขต ………………………….จังหวัด……………………………รับราชการ / รับจ้าง ณ สำนักงาน /
บริษัท………………………...ตำแหน่ง…………………………อัตราเงินเดือน……………………….บาท
กอง…………………………………กรม………………………………กระทรวง………………………….
ตั้งอยู่ที่………………………….โทรศัพท์………………………..ขอทำสัญญาค้ำประกัน………………….
ฉบับนี้ให้ไว้ต่อกรม………………………………..ดังมีข้อความต่อไปนี้
ข้อ 1. ตามที่…………………………………………………………………………………………..
ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้กู้ยืม” ได้รับอนุมัติให้กู้ยืมเงินทุนตามระเบียบคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการว่าด้วยการจัดหาผลประโยชน์และการใช้จ่ายเงินของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2536 และได้ทำสัญญาเงินกู้ยืมเงินกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการกับ………………………………………….ตามสัญญา
เลขที่…………../……………..ลงวันที่………………………เป็นจำนวนเงิน…………………………..บาท
(……………………………………….) นั้น
ข้าพเจ้าตกลงยินยอมผูกพันตน เป็นผู้ค้ำประกันผู้กู้ยืมตามสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าวซึ่งได้กู้ยืมเงินจากกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กรม…………………..ไปลงทุนประกอบอาชีพจำนวน……………..บาท
(………………………………………) ปรากฏตามหนังสือสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าวข้างต้น
ข้อ 2. ถ้าผู้กู้ยืมไม่ชำระเงินตามกำหนดหรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าวข้อหนึ่ง ข้อใด ซึ่งกรม…………………………………มีสิทธิเรียกให้ชำระหนี้และ / หรือค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ จากผู้กู้ยืมได้แล้ว ข้าพเจ้ายินยอมชำระเงินดังกล่าวทั้งหมดแทน ให้ทันทีโดยมิต้องเรียกร้องให้ผู้กู้ยืมชำระก่อน โดยให้ถือเสมือนหนึ่งข้าพเจ้าเป็นลูกหนี้ร่วมกับผู้กู้ยืม
ข้อ 3. ในกรณีที่กรม………………………………..ผู้ให้กู้ยืมได้ยินยอมให้ผัดหรือผ่อนเวลา ชำระหนี้หรือผ่อนผันการปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญากู้ยืมเงินให้แก่ผู้กู้ยืม ให้ถือว่าข้าพเจ้าตกลงด้วยในการผ่อนเวลานั้น โดยมิพักต้องแจ้งให้ข้าพเจ้าทราบก็ได้
ข้อ 4. ข้าพเจ้าจะดูแลและตักเตือนผู้กู้ยืม ให้ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับและสัญญาที่ทำไว้ต่อกรมประชาสงเคราะห์ทุกประการ
ข้อ 5. ข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้ำประกันตลอดระยะเวลาที่ผู้กู้ยืมต้องรับผิดชอบตามเงื่อนไข ในสัญญากู้ยืมเงิน
ข้อ 6. หากมีการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งของกรม…………………………...เอง เป็นเหตุให้ข้าพเจ้า
ไม่อาจเข้าไปรับช่วง ได้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนในสิทธิใด ๆ อันได้ให้ไว้แก่กรม…………………...แต่ก่อน
หรือในขณะหรือภายหลังที่ข้าพเจ้าทำหนังสือค้ำประกันนี้ก็ตาม ข้าพเจ้าก็ยังยินยอมรับผิดในการค้ำประกัน ตามหนังสือสัญญานี้ต่อไป
ข้อ 7. หากปรากฏว่าลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชำระหนี้เพราะเป็นผู้ไร้ความสามารถหรือลูกหนี้ทำหนังสือสัญญาให้ไว้ต่อกรม………………………ด้วยความสำคัญผิด ข้าพเจ้าจะไม่อ้างเหตุความไร้ความสามารถของลูกหนี้หรือความสำคัญผิดของลูกหนี้ในขณะที่เข้าทำสัญญาเพื่อปฏิเสธความรับผิดต่อกรม….………….
………………………………..
ข้อ 8. แม้ในกรณีที่ลูกหนี้ถึงแก่ความตาย ข้าพเจ้ายินยอมชำระหนี้ของลูกหนี้ให้แก่กรม……………
…………………………..ตามสัญญาค้ำประกันนี้ทุกประการ โดยข้าพเจ้ายอมสละสิทธิ์ไม่ยกข้อต่อสู้ของทายาทหรือผู้จัดการมรดกของผู้กู้ยืมในเรื่องอายุความขึ้นต่อสู้กรมประชาสงเคราะห์
ข้อ 9. เพื่อเป็นหลักฐานในการค้ำประกัน ข้าพเจ้าขอแสดงหลักทรัพย์ซึ่งข้าพเจ้ามีกรรมสิทธ์แต่เพียงผู้เดียว โดยปลอดจากภาระผูกพันใด ๆ ทั้งสิ้น ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ข้อ 10. หากผู้กู้ยืมผิดสัญญา ข้าพเจ้าสัญญาว่าจะไปตกลงกับ ผู้บังคับบัญชาหรือนายจ้างของข้าพเจ้าให้หักเงินเดือนหรือเงินรายได้อื่นใดของข้าพเจ้า อันควรได้รับตามกฎหมายเพื่อชำระเงินแทนผู้กู้ยืม จนครบถ้วนตามสัญญา
ข้าพเจ้าได้ทราบข้อความในหนังสือสัญญากู้ยืมและหนังสือสัญญาค้ำประกันรายนี้เป็นที่เข้าใจดีโดยตลอดแล้ว จึงลงลายมือชื่อให้ไว้เป็นหลักบานสำคัญต่อหน้าพยาน
ลงชื่อ………………………....ผู้ค้ำประกัน ลงชื่อ…………………………….ผู้ให้กู้ยืม
(…………………………..….) (…………………………………)
ลงชื่อ…………………………..พยาน ลงชื่อ……………………………..พยาน
(……………………………..) (…………………………………)
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
เขียนโดย small ที่ 07:19
บูรณาการ หมายถึง การนำศาสตร์หรือความรู้วิชาต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กันนำมาเข้าด้วยกันหรือผสมผสานได้อย่างกลมกลืน เพื่อนำมาจัดเป็นการเรียนการสอนภายใต้หัวข้อเดียวกัน เชื่อมโยงกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีการเน้นองค์รวมของเนื้อหามากกว่าองค์ความรู้ของแต่ละรายวิชา และเน้นการสร้างความรู้ของผู้เรียนที่มากกว่า การให้เนื้อหาโดยครูเป็นผู้กำหนด
ลักษณะสำคัญของการสอนแบบบูรณาการ
1.เป็นการบูรณาการระหว่างความรู้ กระบวนการ และการปฏิบัติ
2.เป็นการบูรณาการระหว่างวิชาได้อย่างกลมกลืน
3.เป็นการบูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตจริง
4.เป็นการบูรณาการเพื่อจัดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาต่างๆ
5.เป็นการบูรณาการให้เกิดความสัมพันธ์กันระหว่างความคิดรวบยอดของวิชาต่างๆ เพื่อทำให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนในการเขียนแผนการสอนของครูผู้สอนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท (การเขียนแผนแบบบูรณาการมีมากกว่านี้ ตามความเหมาะสม) ดังนี้
(1)การบูรณาการภายในวิชา มีจุดเน้นอยู่ภายในวิชาเดียวกันอาจนำวิชาต่างๆ ที่สัมพันธ์กันมาบูรณาการกันเองของวิชานั้นและไม่แยกหรือขยายไปกับวิชาอื่น
(2)การบูรณาการระหว่างวิชา มีจุดเน้นอยู่ที่การนำวิชาอื่นเข้าเชื่อมโยงด้วยกัน ตั้งแต่ 2 วิชาขึ้นไป โดยภายใต้หัวข้อเดียวกันว่าวิชาใดที่สามารถนำเข้ามาบูรณาการด้วยกันได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทุกวิชา หรือทุกกลุ่มประสบการณ์เข้าด้วยกัน หรืออาจครบทุกวิชาหรือทุกกลุ่มประสบการณ์ก็ได้
การวางแผนการจัดทำแผนแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนการสอนแบบบูรณาการ เป็นการนำวิชาหรือสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันมาเชื่อมโยงกัน ซึ่งสามารถทำได้โดยการสร้างหัวข้อเรื่องที่มีความสอดคล้องกับวิชานั้น ๆ เข้าด้วยกัน ผู้สอนต้องคำนึงสิ่งต่อไปนี้
1.การเลือกหัวเรื่อง จากประเด็นต่างๆ ที่ต้องการเรียน เช่น ประเด็กแนวคิด ประเด็นของเนื้อหา เมื่อได้แล้วนำจุดประสงค์ของแต่ละรายวิชา ที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียน เข้ามาสร้างเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
2.การนำจุดประสงค์ของรายวิชาต่างๆ ที่สัมพันธ์กันมาสร้างเป็นหัวข้อเรื่องและนำมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
ประโยชน์ของการบูรณาการ
1.เป็นการนำวิชาหรือศาสตร์ต่างๆ เชื่อมโยงกันภายใต้หัวข้อเดียวกัน
2.ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนที่ลึกซึ้ง และมีลักษณะใกล้เคียงกับชีวิตจริง
3.ช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในลักษณะองค์รวม
4.ช่วยให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ ความเข้าใจ จากสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัว
5.เป็นแนวทางที่ช่วยให้ครูได้ทำงานร่วมกัน หรือประสานงานร่วมกันอย่างมีความสุข
6.ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูได้คิดวิธีการหรือนำเทคนิคใหม่ๆ มาใช้
ทำอย่างไรจึงจะจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
1.ครูมีความเชื่อมั่นและเข้าใจตรงกันในเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
2.ครูได้วางแผน ได้คิดกระบวนการเรียนรู้และมีการประเมินผลร่วมกัน
3.ต้องยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้ผู้เรียนสามารถค้นหาคำตอบได้ด้วยตนเองและได้ลงมือปฏิบัติจริง
4.เน้นการเรียนรู้ที่เกิดจากการนำวิชาต่างๆ เชื่อมโยงกันมากกว่าที่จะเกิดจากเนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่งเท่านั้น
5.มีการนำข้อมูล ทรัพยากรท้องถิ่น และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้แบบองค์รวมหรือแบบบูรณาการ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
จะรู้ได้อย่างไรว่าได้มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
เราจะทราบได้อย่างไรว่ามีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการแล้วหรือยังโดยดูได้จากหัวข้อต่อไปนี้
1.ผู้เรียนมีโอกาสได้เลือกเรียนตามความถนัด ความสนใจของตนเอง
2.มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย กว้างขวางตามความพร้อมของผู้เรียน
3.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิด ได้ทำ ได้แก้ปัญหา ได้ค้นพบคำตอบด้วยตนเอง และผู้เรียนลงมือปฏิบัติเองโดยมีครูผู้สอนเป็นเพียงให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษา
4.มีการเชื่อมโยงเนื้อหาในวิชาเดียวกัน หรือต่างวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้
5.มีการยืดหยุ่นเวลาเรียนได้ตามสถานการณ์
6.มีการเชื่อมโยงสาระสำคัญหรือความคิดรวบยอดต่างๆ อย่างมีความหมาย
7.มีการใช้แหล่งความรู้ หรือแหล่งการเรียนได้อย่างหลากหลาย เช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องวิทยาศาสตร์ ชุมชน ฯลฯ อย่างสัมพันธ์กันตามสภาพที่แท้จริงหรือตามความเป็นจริง
8.มีการประเมินตามสภาพที่แท้จริง
9.ผู้เรียนได้ร่วมสะท้อนความคิดหรือสรุปความรู้โดยอิสระ
10.ผู้เรียนมีวิจารณญาณในการคิดแก้ปัญหา และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ลักษณะสำคัญของการสอนแบบบูรณาการ
1.เป็นการบูรณาการระหว่างความรู้ กระบวนการ และการปฏิบัติ
2.เป็นการบูรณาการระหว่างวิชาได้อย่างกลมกลืน
3.เป็นการบูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตจริง
4.เป็นการบูรณาการเพื่อจัดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาต่างๆ
5.เป็นการบูรณาการให้เกิดความสัมพันธ์กันระหว่างความคิดรวบยอดของวิชาต่างๆ เพื่อทำให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนในการเขียนแผนการสอนของครูผู้สอนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท (การเขียนแผนแบบบูรณาการมีมากกว่านี้ ตามความเหมาะสม) ดังนี้
(1)การบูรณาการภายในวิชา มีจุดเน้นอยู่ภายในวิชาเดียวกันอาจนำวิชาต่างๆ ที่สัมพันธ์กันมาบูรณาการกันเองของวิชานั้นและไม่แยกหรือขยายไปกับวิชาอื่น
(2)การบูรณาการระหว่างวิชา มีจุดเน้นอยู่ที่การนำวิชาอื่นเข้าเชื่อมโยงด้วยกัน ตั้งแต่ 2 วิชาขึ้นไป โดยภายใต้หัวข้อเดียวกันว่าวิชาใดที่สามารถนำเข้ามาบูรณาการด้วยกันได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทุกวิชา หรือทุกกลุ่มประสบการณ์เข้าด้วยกัน หรืออาจครบทุกวิชาหรือทุกกลุ่มประสบการณ์ก็ได้
การวางแผนการจัดทำแผนแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนการสอนแบบบูรณาการ เป็นการนำวิชาหรือสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันมาเชื่อมโยงกัน ซึ่งสามารถทำได้โดยการสร้างหัวข้อเรื่องที่มีความสอดคล้องกับวิชานั้น ๆ เข้าด้วยกัน ผู้สอนต้องคำนึงสิ่งต่อไปนี้
1.การเลือกหัวเรื่อง จากประเด็นต่างๆ ที่ต้องการเรียน เช่น ประเด็กแนวคิด ประเด็นของเนื้อหา เมื่อได้แล้วนำจุดประสงค์ของแต่ละรายวิชา ที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียน เข้ามาสร้างเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
2.การนำจุดประสงค์ของรายวิชาต่างๆ ที่สัมพันธ์กันมาสร้างเป็นหัวข้อเรื่องและนำมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
ประโยชน์ของการบูรณาการ
1.เป็นการนำวิชาหรือศาสตร์ต่างๆ เชื่อมโยงกันภายใต้หัวข้อเดียวกัน
2.ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนที่ลึกซึ้ง และมีลักษณะใกล้เคียงกับชีวิตจริง
3.ช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในลักษณะองค์รวม
4.ช่วยให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ ความเข้าใจ จากสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัว
5.เป็นแนวทางที่ช่วยให้ครูได้ทำงานร่วมกัน หรือประสานงานร่วมกันอย่างมีความสุข
6.ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูได้คิดวิธีการหรือนำเทคนิคใหม่ๆ มาใช้
ทำอย่างไรจึงจะจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
1.ครูมีความเชื่อมั่นและเข้าใจตรงกันในเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
2.ครูได้วางแผน ได้คิดกระบวนการเรียนรู้และมีการประเมินผลร่วมกัน
3.ต้องยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้ผู้เรียนสามารถค้นหาคำตอบได้ด้วยตนเองและได้ลงมือปฏิบัติจริง
4.เน้นการเรียนรู้ที่เกิดจากการนำวิชาต่างๆ เชื่อมโยงกันมากกว่าที่จะเกิดจากเนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่งเท่านั้น
5.มีการนำข้อมูล ทรัพยากรท้องถิ่น และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้แบบองค์รวมหรือแบบบูรณาการ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
จะรู้ได้อย่างไรว่าได้มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
เราจะทราบได้อย่างไรว่ามีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการแล้วหรือยังโดยดูได้จากหัวข้อต่อไปนี้
1.ผู้เรียนมีโอกาสได้เลือกเรียนตามความถนัด ความสนใจของตนเอง
2.มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย กว้างขวางตามความพร้อมของผู้เรียน
3.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิด ได้ทำ ได้แก้ปัญหา ได้ค้นพบคำตอบด้วยตนเอง และผู้เรียนลงมือปฏิบัติเองโดยมีครูผู้สอนเป็นเพียงให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษา
4.มีการเชื่อมโยงเนื้อหาในวิชาเดียวกัน หรือต่างวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้
5.มีการยืดหยุ่นเวลาเรียนได้ตามสถานการณ์
6.มีการเชื่อมโยงสาระสำคัญหรือความคิดรวบยอดต่างๆ อย่างมีความหมาย
7.มีการใช้แหล่งความรู้ หรือแหล่งการเรียนได้อย่างหลากหลาย เช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องวิทยาศาสตร์ ชุมชน ฯลฯ อย่างสัมพันธ์กันตามสภาพที่แท้จริงหรือตามความเป็นจริง
8.มีการประเมินตามสภาพที่แท้จริง
9.ผู้เรียนได้ร่วมสะท้อนความคิดหรือสรุปความรู้โดยอิสระ
10.ผู้เรียนมีวิจารณญาณในการคิดแก้ปัญหา และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
สรุปพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
เขียนโดย small ที่ 07:17
ในพระราชบัญญัตินี้ กำหนดความหมายของคำที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
"ข้อมูลข่าวสาร" หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูลหรือสิ่งใดๆ ไม่ว่าการสื่อ ความหมายนั้น จะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือ โดยผ่านวิธีการใดๆ และ ไม่ว่าจะไดัจัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ วิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้
"ข้อมูลข่าวสารของราชการ" หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วย งานรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน
"ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล" หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะ การเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือ ประวัติการทำงาน บรรดาที่มีชื่อเสียงผู้นั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือ สิ่ง บอกลักษณะอื่นที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถ่าย และ ให้หมายความรวม ถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผู้ที่ถึงแก่กรรมแล้วด้วย
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
1) หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ เช่น ผลการพิจารณาหรือ คำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อนโยบายหรือตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา แผนงาน โครงการ และ งบ ประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่กำลังดำเนินการ คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบ ถึงสิทธิหน้าที่ โครงสร้างและการจัดองค์กร หน้าที่และวิธีดำเนินการ กฎข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน สัญญาสัมปทาน สัญ ญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือ สัญญาร่วมทุนกับเอกชนในการจัดทำบริการสาธารณะ มติคณะรัฐมนตรีหรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ให้ระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง
2) ข้อมูลข่าวสารที่จัดให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ถ้ามีส่วนที่ต้องห้ามมิให้เปิดเผยอยู่ด้วย ให้ลบหรือตัดทอนหรือ ทำโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็นการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้น
3) บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ตาม ย่อมมีสิทธิ์เข้าตรวจดู ขอสำเนา หรือขอสำเนาที่มีคำรับรอง ถูกต้องของข้อมูลข่าวสารได้ ในกรณีที่สมควรหน่วยงานของรัฐโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑ์เรียก ค่าธรรมเนียมในการนั้นก็ได้
ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
1) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
2) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
2.1) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ
2.2) การเปิดเผยจะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการฟ้องคดี การป้องกัน การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือการรู้แหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสาร หรือไม่ก็ตาม
2.3) ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องใด แต่ไม่รวมถึงรายงานทางวิชา การ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นำมาใช้ในการทำความเห็นหรือคำแนะนำภายใน
2.4) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลใด
2.5) รายงานแพทย์หรือข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล
2.6) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มา โดยไม่ประ สงค์ให้ทางราชการนำไปเปิดเผยต่อผู้อื่น
2.7) กรณีอื่นตามที่กำหนดให้พระราชกฤษฎีกา
3) คำสั่งไม่ให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ แต่ต้องระบุไว้ด้วยว่า ที่เปิดเผย ไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใดและเพราะเหตุใด และ ให้ถือว่าการมีคำสั่งเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการเป็น ดุลยพินิจโดยเฉพาะของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามลำดับสายการบังคับบัญชา แต่อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิด เผยข้อมูลข่าวสารได้
การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล สรุปได้ดังนี้
1) พยายามเก็บข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่จะกระทบถึงประโยชน์ได้ เสียโดยตรงของบุคคลนั้น
2) จัดให้มีการพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา และ ตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องอยู่เสมอ เกี่ยวกับประเภทของบุคคลที่มี การเก็บข้อมูลไว้ ประเภทของระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
3) ระบุลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ วิธีการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของเจ้าของข้อมูล วิธีการขอให้แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูล แหล่งที่มาของข้อมูล ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลในความรับผิดชอบให้ถูกต้องอยู่เสมอ จัด ระบบรักษาความปลอดภัยให้แก่ระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เพื่อป้องกันมิให้มีการนำไปใช้โดยไม่เหมาะสม หรือ เป็นผล ร้ายต่อเจ้าของข้อมูล
4) ในกรณีที่เก็บข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล หน่วยงานของรัฐต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบล่วงหน้าพร้อมกับการแจ้งให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ที่จะนำข้อมูลมาใช้ลักษณะการใช้ข้อมูล การที่ขอข้อมูลนั้นเป็นกรณีที่อาจให้ข้อมูล โดยความสมัครใจหรือเป็นกรณีมีกฎหมายบังคับ
5) หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ในความควบคุมดูแลของตนต่อหน่วยงานของรัฐแห่ง อื่นหรือผู้อื่น โดยต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากเจ้าของข้อมูล เว้นแต่เป็นการเปิดเผยดังต่อไปนี้
5.1) เปิดเผยต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของตน เพื่อการนำการไปใช้ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานของ รัฐแห่งนั้น
5.2) เป็นการใช้ข้อมูลตามปกติภายในวัตถุประสงค์ของการจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลนั้น
5.3) เปิดเผยต่อหน่วยงานของรัฐที่ทำงานด้วยการวางแผน หรือ การทำสถิติ หรือ สำมะโนต่างๆ ซึ่งมีหน้าที่ต้อง รักษาข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลไว้ไม่ให้เปิดเผยต่อไปยังผู้อื่น
5.4) เป็นการให้ประโยชน์ในการศึกษาวิจัย โดยไม่ระบุชื่อ หรือ ส่วนที่ทำให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด
5.5) เปิดเผยต่อหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร หรือหน่วยงานอื่นของรัฐเพื่อการตรวจสอบดูคุณค่าใน การเก็บรักษา
5.6) เปิดเผยต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อการป้องกันการฝ่าฝืน หรือ ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย การสืบสวน การสอบ สวน หรือ การฟ้องคดี ไม่ว่าเป็นคดีประเภทใดก็ตาม
5.7) เป็นการให้ซึ่งจำเป็น เพื่อการป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล
5.8) เปิดเผยต่อศาล หรือหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่มีอำนาจตามกฎหมายที่จะขอข้อเท็จจริงดังกล่าว
5.9) กรณีอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
6) บุคคลย่อมมีสิทธิ์ที่จะได้รู้ถึงข้อมุลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน เมื่อบุคคลนั้นมีคำขอเป็นหนังสือ หน่วยงาน ของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารนั้น จะต้องให้บุคคลนั้น หรือ ผู้กระทำการแทนบุคคลนั้นได้ตรวจดู หรือ ได้รับสำเนาข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคลส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลนั้น การเปิดเผยรายงานการแพทย์เกี่ยวกับบุคคลใด ถ้ากรณีมีเหตุผลอันควรเจ้าหน้า ที่ของรัฐจะเปิดเผยต่อเฉพาะแพทย์ที่บุคคลนั้นมอบหมายก็ได้ รวมทั้งถ้ามีส่วนใดไม่ถูกต้องตามที่เป็นจริง ให้มีสิทธิ์ยื่นคำขอเป็นหนังสือให้หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมุลข่าวสารส่วนนั้นได้
พระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล
นอกจากกฎหมายดังกล่าวมาแล้ว ยังมีกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและระบบสารสนเทศ ได้แก่ พระราช บัญญัติคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล หรือ สารสนเทศที่เป็นส่วนตัวของบุคคลนั้น ได้แก่ ประวัติการเจ็บป่วยทางการแพทย์ ข้อมูล ทางการเงิน เงินเดือน ประวัติการเรียน และ ผลการเรียน ประวัติอาชญากรรม สถานภาพการสมรส ปัญหาในครอบครัว และ การประเมินผลการทำงาน สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่กล่าวมาแล้วเป็นสิทธิส่วนบุคคลซึ่งบุคคลอาจจะไม่ต้องการเปิดเผย ให้ใครทราบ และ อาจจะรวมถึงที่อย ู่ชื่อบิดา-มารดา ชื่อสามี-ภรรยาหรือบุตร ในปัจจุบันคนเริ่มสนใจกับสิ่งที่หน่วยงานไม่ว่า จะเป็นของรัฐหรือเอกชนเก็บไว้เป็นข้อมูล และ ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถที่จะเรียกข้อมูลเหล่านี้ออกมาดูได้ เนื่องจากมีระบบ งานที่เป็นเครือข่ายติดต่อกัน จากทะเบียนรถก็สามารถได้ข้อมูลของเจ้าของรถ ซึ่งได้แก่ที่อยู่ เพศ ความสูง น้ำหนัก วันเดือน
ปีเกิด และ เลขประจำตัวประชาชน และ จากจุดนี้ก็จะนำไปสู่ข้อมูลการเสียภาษี ที่ทำงาน ตำแหน่งและเงินเดือน และอาจจะ นำไปสู่ข้อมูลบ้าน ราคาบ้าน การกู้ยืม และ อาจจะรวมไปถึงบุตร ญาติ ข้อมูลเหล่านี้ไม่มีการรับประกันว่า จะไม่มีการรั่วไหล ถึงแม้ว่าจะมีการรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ไว้แล้วก็ตาม จากการที่มีการใช้ข้อมูลและสารสนเทศ ทั้งใน หน่วยงานของรัฐและเอกชน เพื่อการควบคุมและตรวจสอบมากขึ้น จึงได้มีการเรียกร้องให้มีกฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธ ิส่วนบุคคล กฎหมายนี้ไม่เพียงแต่เพื่อการคุ้มครองสิทธิของการใช้ข้อมูล แต่รวมถึงการคุ้มครองความผิดพลาดของข้อมูล ระยะเวลาของการเก็บ และ แก้ไขปรับปรุงข้อมูล รวมทั้งการแปลความผิดพลาด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้บุคคลหรือเจ้าของข้อมูล เกิดความเสียหายได้ ได้มีการเคลื่อนไหวทางด้านนี้มากในประเทศสหรัฐอเมริกา และ ออกมาเป็นพระราชบัญญัติสิทธิส่วน
บุคคล (Privacy Act) ในปี ค.ศ. 1974 ในขณะที่ประเทศอื่น อาทิ เบลเยี่ยม สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ค เยอรมันตะวันตก ฝรั่งเศส ออสเตรีย ไอร์แลนด์ ลักแซมเบอร์ก ฮังการี อิสราเอลและสหราชอาณาจักรได้จัดทำเป็นกฎหมาย และได้ดำเนินการ เคลื่อนไหวในองค์กรร่วมยุโรป อันเป็นผลให้มีการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน ได้ร้องขอให้รัฐสมาชิกของกลุ่มประชาคมยุโรปให้ ลงนาม และ ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฉบับนี้ก่อนสิ้นปี ค.ศ. 1982 และ เสนอแนะด้วยว่าเป็นสิ่งที่พึงต้องกระทำ
กฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลนี้ ในบางประเทศเรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Data Protection Act และ บางประเทศเรียกชื่อว่า Privacy Act โดยมีองค์กรทำหน้าที่สำคัญสรุปได้ดังนี
1. พิจารณาอนุญาตการขออนุญาตจัดเก็บข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับบุคคล
2. ควบคุม ดูแล ตรวจตรา ว่ามีการล่วงละเมิด หลักการคุ้มครองข้อมูลที่เกี่ยวกับบุคคลตามกฎหมายฉบับนี้หรือไม่
3. อำนาจหน้าที่ในการส่งคำเตือน 3 ประเภท คือ ในกรณีพบว่ามีการล่วงละเมิดคำเตือนประเภทแรกเป็นการแจ้ง ให้ปฏิบัติให้ถูกต้อง ในระยะเวลาที่กำหนด คำเตือนประเภทที่สองเป็นการเตือนซ้ำ ถ้ายังไม่ปฏิบัติตามคำเตือนหลังนี้ จะดำ เนินการเพิกถอนทางทะเบียน ส่วนคำเตือนประเภทสุดท้าย เป็นคำเตือนเกี่ยวกับการห้ามการที่จะสื่อข้อมูลข้ามแดนที่ผิด ไปจากที่กฎหมายฉบับนี้กำหนดไว้
4. การประกาศแจ้งให้ทราบถึง การปฏิบัติตามหลักการคุ้มครองข้อมูลของผู้ใช้ข้อมูลและผู้ปฏิบัติงานในสำนักงาน คอมพิวเตอร์
5. การพิจารณาคำร้องของผู้เสียหายว่า มีการล่วงละเมิดหลักการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือล่วงละเมิดกฎหมาย นี้ และ คณะกรรมการพิจารณาดำเนินการโดยรวดเร็ว เพื่อแจ้งให้บุคคลนั้นๆ ทราบถึงการพิจารณาและมาตรการที่จะใช้
6. ทั้ง 5 ประการนี้ เป็นหน้าที่รับผิดชอบที่สำคัญบางส่วนขององค์กรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล
7. กฎหมายเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือสิทธิส่วนบุคคลใช้บังคับทั้งในภาครัฐ และ ภาคเอกชน ในเรื่องข้อมูล ส่วนบุคคล (Personal data) ที่เก็บรวบรวมไว้โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งมีสาระโดยสรุปดังนี้
7.1 ห้ามบุคคลผู้ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานคอมพิวเตอร์ หรือ ตัวแทนของบุคคลดังกล่าว เปิดเผยข้อมูลส่วนบุค คลอันเกี่ยวกับบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต
7.2 กำหนดสิทธิของบุคคลผู้ถูกระบุในข้อมูลข่าวสารนั้น เช่น สิทธิที่จะได้ทราบว่าตนถูกระบุอยู่ในข้อมูลข่าวสาร นั้น หรือไม่ ถ้าระบุ ระบุไว้อย่างไร สิทธิที่เข้าสู่ข้อมูลที่เกี่ยวกับตน สิทธิในการแก้ไขหรือลบล้างข้อมูลดังกล่าวที่ผิดพลาด สิทธิที่จะอนุญาต หรือ ไม่อนุญาตให้มีการเปิดเผยข้อมูลนั้นหรือไม่ สิทธิที่จะได้รับค่าเสียหาย กรณีได้รับความเสียหายจากข้อมูล ส่วนบุคคลที่ผิดพลาด
7.3.กำหนดหลักการคุ้มครองต่อข้อมูลข่าวสารอันเกี่ยวกับบุคคลไว้ ดังนี้
7.3.1 ข้อมูลที่จัดเก็บไว้จะต้องได้มาโดยถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมายและการดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูล ส่วนบุคคล
7.3.2 ข้อมูลส่วนบุคคลจะเก็บสะสมไว้ได้เพียงเท่าที่ระบุไว้ในการจดทะเบียนและด้วยวัตถุประสงค์อันชอบ ด้วยกฎหมายเท่านั้น
7.3.3 ข้อมูลส่วนบุคคลที่จัดเก็บไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใด จะต้องใช้หรือเปิดเผยไม่เกินไปกว่าวัตถุประสงค์นั้น
7.3.4 ข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องได้รับการจัดทำให้ถูกต้องทันสมัยเท่าที่จำเป็น
7.3.5 ข้อมูลส่วนบุคคลที่จัดเก็บไว้ จะต้องไม้จัดเก็บเป็นระยะนานไปกว่าที่แจ้งไว้ในวัตถประสงค์ของการ จัดเก็บ
7.3.6 ข้อมูลส่วนบุคคลที่จัดเก็บไว้ โดยผู้ดำเนินการในสำนักงานคอมพิวเตอร์ จะต้องได้รับการจัดให้มี มาตรการรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสมในการเข้าถึง เปิดเผยหรือทำลายโดยไม่ได้รับอนุญาต และรักษาความปลอดภัยต่อ การสูญหาย หรือ ทำลายลงโดยอุบัติเหตุ
"ข้อมูลข่าวสาร" หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูลหรือสิ่งใดๆ ไม่ว่าการสื่อ ความหมายนั้น จะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือ โดยผ่านวิธีการใดๆ และ ไม่ว่าจะไดัจัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ วิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้
"ข้อมูลข่าวสารของราชการ" หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วย งานรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน
"ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล" หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะ การเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือ ประวัติการทำงาน บรรดาที่มีชื่อเสียงผู้นั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือ สิ่ง บอกลักษณะอื่นที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถ่าย และ ให้หมายความรวม ถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผู้ที่ถึงแก่กรรมแล้วด้วย
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
1) หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ เช่น ผลการพิจารณาหรือ คำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อนโยบายหรือตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา แผนงาน โครงการ และ งบ ประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่กำลังดำเนินการ คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบ ถึงสิทธิหน้าที่ โครงสร้างและการจัดองค์กร หน้าที่และวิธีดำเนินการ กฎข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน สัญญาสัมปทาน สัญ ญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือ สัญญาร่วมทุนกับเอกชนในการจัดทำบริการสาธารณะ มติคณะรัฐมนตรีหรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ให้ระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง
2) ข้อมูลข่าวสารที่จัดให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ถ้ามีส่วนที่ต้องห้ามมิให้เปิดเผยอยู่ด้วย ให้ลบหรือตัดทอนหรือ ทำโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็นการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้น
3) บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ตาม ย่อมมีสิทธิ์เข้าตรวจดู ขอสำเนา หรือขอสำเนาที่มีคำรับรอง ถูกต้องของข้อมูลข่าวสารได้ ในกรณีที่สมควรหน่วยงานของรัฐโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑ์เรียก ค่าธรรมเนียมในการนั้นก็ได้
ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
1) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
2) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
2.1) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ
2.2) การเปิดเผยจะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการฟ้องคดี การป้องกัน การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือการรู้แหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสาร หรือไม่ก็ตาม
2.3) ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องใด แต่ไม่รวมถึงรายงานทางวิชา การ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นำมาใช้ในการทำความเห็นหรือคำแนะนำภายใน
2.4) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลใด
2.5) รายงานแพทย์หรือข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล
2.6) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มา โดยไม่ประ สงค์ให้ทางราชการนำไปเปิดเผยต่อผู้อื่น
2.7) กรณีอื่นตามที่กำหนดให้พระราชกฤษฎีกา
3) คำสั่งไม่ให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ แต่ต้องระบุไว้ด้วยว่า ที่เปิดเผย ไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใดและเพราะเหตุใด และ ให้ถือว่าการมีคำสั่งเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการเป็น ดุลยพินิจโดยเฉพาะของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามลำดับสายการบังคับบัญชา แต่อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิด เผยข้อมูลข่าวสารได้
การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล สรุปได้ดังนี้
1) พยายามเก็บข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่จะกระทบถึงประโยชน์ได้ เสียโดยตรงของบุคคลนั้น
2) จัดให้มีการพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา และ ตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องอยู่เสมอ เกี่ยวกับประเภทของบุคคลที่มี การเก็บข้อมูลไว้ ประเภทของระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
3) ระบุลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ วิธีการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของเจ้าของข้อมูล วิธีการขอให้แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูล แหล่งที่มาของข้อมูล ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลในความรับผิดชอบให้ถูกต้องอยู่เสมอ จัด ระบบรักษาความปลอดภัยให้แก่ระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เพื่อป้องกันมิให้มีการนำไปใช้โดยไม่เหมาะสม หรือ เป็นผล ร้ายต่อเจ้าของข้อมูล
4) ในกรณีที่เก็บข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล หน่วยงานของรัฐต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบล่วงหน้าพร้อมกับการแจ้งให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ที่จะนำข้อมูลมาใช้ลักษณะการใช้ข้อมูล การที่ขอข้อมูลนั้นเป็นกรณีที่อาจให้ข้อมูล โดยความสมัครใจหรือเป็นกรณีมีกฎหมายบังคับ
5) หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ในความควบคุมดูแลของตนต่อหน่วยงานของรัฐแห่ง อื่นหรือผู้อื่น โดยต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากเจ้าของข้อมูล เว้นแต่เป็นการเปิดเผยดังต่อไปนี้
5.1) เปิดเผยต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของตน เพื่อการนำการไปใช้ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานของ รัฐแห่งนั้น
5.2) เป็นการใช้ข้อมูลตามปกติภายในวัตถุประสงค์ของการจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลนั้น
5.3) เปิดเผยต่อหน่วยงานของรัฐที่ทำงานด้วยการวางแผน หรือ การทำสถิติ หรือ สำมะโนต่างๆ ซึ่งมีหน้าที่ต้อง รักษาข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลไว้ไม่ให้เปิดเผยต่อไปยังผู้อื่น
5.4) เป็นการให้ประโยชน์ในการศึกษาวิจัย โดยไม่ระบุชื่อ หรือ ส่วนที่ทำให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด
5.5) เปิดเผยต่อหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร หรือหน่วยงานอื่นของรัฐเพื่อการตรวจสอบดูคุณค่าใน การเก็บรักษา
5.6) เปิดเผยต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อการป้องกันการฝ่าฝืน หรือ ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย การสืบสวน การสอบ สวน หรือ การฟ้องคดี ไม่ว่าเป็นคดีประเภทใดก็ตาม
5.7) เป็นการให้ซึ่งจำเป็น เพื่อการป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล
5.8) เปิดเผยต่อศาล หรือหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่มีอำนาจตามกฎหมายที่จะขอข้อเท็จจริงดังกล่าว
5.9) กรณีอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
6) บุคคลย่อมมีสิทธิ์ที่จะได้รู้ถึงข้อมุลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน เมื่อบุคคลนั้นมีคำขอเป็นหนังสือ หน่วยงาน ของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารนั้น จะต้องให้บุคคลนั้น หรือ ผู้กระทำการแทนบุคคลนั้นได้ตรวจดู หรือ ได้รับสำเนาข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคลส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลนั้น การเปิดเผยรายงานการแพทย์เกี่ยวกับบุคคลใด ถ้ากรณีมีเหตุผลอันควรเจ้าหน้า ที่ของรัฐจะเปิดเผยต่อเฉพาะแพทย์ที่บุคคลนั้นมอบหมายก็ได้ รวมทั้งถ้ามีส่วนใดไม่ถูกต้องตามที่เป็นจริง ให้มีสิทธิ์ยื่นคำขอเป็นหนังสือให้หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมุลข่าวสารส่วนนั้นได้
พระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล
นอกจากกฎหมายดังกล่าวมาแล้ว ยังมีกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและระบบสารสนเทศ ได้แก่ พระราช บัญญัติคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล หรือ สารสนเทศที่เป็นส่วนตัวของบุคคลนั้น ได้แก่ ประวัติการเจ็บป่วยทางการแพทย์ ข้อมูล ทางการเงิน เงินเดือน ประวัติการเรียน และ ผลการเรียน ประวัติอาชญากรรม สถานภาพการสมรส ปัญหาในครอบครัว และ การประเมินผลการทำงาน สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่กล่าวมาแล้วเป็นสิทธิส่วนบุคคลซึ่งบุคคลอาจจะไม่ต้องการเปิดเผย ให้ใครทราบ และ อาจจะรวมถึงที่อย ู่ชื่อบิดา-มารดา ชื่อสามี-ภรรยาหรือบุตร ในปัจจุบันคนเริ่มสนใจกับสิ่งที่หน่วยงานไม่ว่า จะเป็นของรัฐหรือเอกชนเก็บไว้เป็นข้อมูล และ ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถที่จะเรียกข้อมูลเหล่านี้ออกมาดูได้ เนื่องจากมีระบบ งานที่เป็นเครือข่ายติดต่อกัน จากทะเบียนรถก็สามารถได้ข้อมูลของเจ้าของรถ ซึ่งได้แก่ที่อยู่ เพศ ความสูง น้ำหนัก วันเดือน
ปีเกิด และ เลขประจำตัวประชาชน และ จากจุดนี้ก็จะนำไปสู่ข้อมูลการเสียภาษี ที่ทำงาน ตำแหน่งและเงินเดือน และอาจจะ นำไปสู่ข้อมูลบ้าน ราคาบ้าน การกู้ยืม และ อาจจะรวมไปถึงบุตร ญาติ ข้อมูลเหล่านี้ไม่มีการรับประกันว่า จะไม่มีการรั่วไหล ถึงแม้ว่าจะมีการรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ไว้แล้วก็ตาม จากการที่มีการใช้ข้อมูลและสารสนเทศ ทั้งใน หน่วยงานของรัฐและเอกชน เพื่อการควบคุมและตรวจสอบมากขึ้น จึงได้มีการเรียกร้องให้มีกฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธ ิส่วนบุคคล กฎหมายนี้ไม่เพียงแต่เพื่อการคุ้มครองสิทธิของการใช้ข้อมูล แต่รวมถึงการคุ้มครองความผิดพลาดของข้อมูล ระยะเวลาของการเก็บ และ แก้ไขปรับปรุงข้อมูล รวมทั้งการแปลความผิดพลาด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้บุคคลหรือเจ้าของข้อมูล เกิดความเสียหายได้ ได้มีการเคลื่อนไหวทางด้านนี้มากในประเทศสหรัฐอเมริกา และ ออกมาเป็นพระราชบัญญัติสิทธิส่วน
บุคคล (Privacy Act) ในปี ค.ศ. 1974 ในขณะที่ประเทศอื่น อาทิ เบลเยี่ยม สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ค เยอรมันตะวันตก ฝรั่งเศส ออสเตรีย ไอร์แลนด์ ลักแซมเบอร์ก ฮังการี อิสราเอลและสหราชอาณาจักรได้จัดทำเป็นกฎหมาย และได้ดำเนินการ เคลื่อนไหวในองค์กรร่วมยุโรป อันเป็นผลให้มีการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน ได้ร้องขอให้รัฐสมาชิกของกลุ่มประชาคมยุโรปให้ ลงนาม และ ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาฉบับนี้ก่อนสิ้นปี ค.ศ. 1982 และ เสนอแนะด้วยว่าเป็นสิ่งที่พึงต้องกระทำ
กฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลนี้ ในบางประเทศเรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Data Protection Act และ บางประเทศเรียกชื่อว่า Privacy Act โดยมีองค์กรทำหน้าที่สำคัญสรุปได้ดังนี
1. พิจารณาอนุญาตการขออนุญาตจัดเก็บข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับบุคคล
2. ควบคุม ดูแล ตรวจตรา ว่ามีการล่วงละเมิด หลักการคุ้มครองข้อมูลที่เกี่ยวกับบุคคลตามกฎหมายฉบับนี้หรือไม่
3. อำนาจหน้าที่ในการส่งคำเตือน 3 ประเภท คือ ในกรณีพบว่ามีการล่วงละเมิดคำเตือนประเภทแรกเป็นการแจ้ง ให้ปฏิบัติให้ถูกต้อง ในระยะเวลาที่กำหนด คำเตือนประเภทที่สองเป็นการเตือนซ้ำ ถ้ายังไม่ปฏิบัติตามคำเตือนหลังนี้ จะดำ เนินการเพิกถอนทางทะเบียน ส่วนคำเตือนประเภทสุดท้าย เป็นคำเตือนเกี่ยวกับการห้ามการที่จะสื่อข้อมูลข้ามแดนที่ผิด ไปจากที่กฎหมายฉบับนี้กำหนดไว้
4. การประกาศแจ้งให้ทราบถึง การปฏิบัติตามหลักการคุ้มครองข้อมูลของผู้ใช้ข้อมูลและผู้ปฏิบัติงานในสำนักงาน คอมพิวเตอร์
5. การพิจารณาคำร้องของผู้เสียหายว่า มีการล่วงละเมิดหลักการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือล่วงละเมิดกฎหมาย นี้ และ คณะกรรมการพิจารณาดำเนินการโดยรวดเร็ว เพื่อแจ้งให้บุคคลนั้นๆ ทราบถึงการพิจารณาและมาตรการที่จะใช้
6. ทั้ง 5 ประการนี้ เป็นหน้าที่รับผิดชอบที่สำคัญบางส่วนขององค์กรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล
7. กฎหมายเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือสิทธิส่วนบุคคลใช้บังคับทั้งในภาครัฐ และ ภาคเอกชน ในเรื่องข้อมูล ส่วนบุคคล (Personal data) ที่เก็บรวบรวมไว้โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งมีสาระโดยสรุปดังนี้
7.1 ห้ามบุคคลผู้ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานคอมพิวเตอร์ หรือ ตัวแทนของบุคคลดังกล่าว เปิดเผยข้อมูลส่วนบุค คลอันเกี่ยวกับบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต
7.2 กำหนดสิทธิของบุคคลผู้ถูกระบุในข้อมูลข่าวสารนั้น เช่น สิทธิที่จะได้ทราบว่าตนถูกระบุอยู่ในข้อมูลข่าวสาร นั้น หรือไม่ ถ้าระบุ ระบุไว้อย่างไร สิทธิที่เข้าสู่ข้อมูลที่เกี่ยวกับตน สิทธิในการแก้ไขหรือลบล้างข้อมูลดังกล่าวที่ผิดพลาด สิทธิที่จะอนุญาต หรือ ไม่อนุญาตให้มีการเปิดเผยข้อมูลนั้นหรือไม่ สิทธิที่จะได้รับค่าเสียหาย กรณีได้รับความเสียหายจากข้อมูล ส่วนบุคคลที่ผิดพลาด
7.3.กำหนดหลักการคุ้มครองต่อข้อมูลข่าวสารอันเกี่ยวกับบุคคลไว้ ดังนี้
7.3.1 ข้อมูลที่จัดเก็บไว้จะต้องได้มาโดยถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมายและการดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูล ส่วนบุคคล
7.3.2 ข้อมูลส่วนบุคคลจะเก็บสะสมไว้ได้เพียงเท่าที่ระบุไว้ในการจดทะเบียนและด้วยวัตถุประสงค์อันชอบ ด้วยกฎหมายเท่านั้น
7.3.3 ข้อมูลส่วนบุคคลที่จัดเก็บไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใด จะต้องใช้หรือเปิดเผยไม่เกินไปกว่าวัตถุประสงค์นั้น
7.3.4 ข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องได้รับการจัดทำให้ถูกต้องทันสมัยเท่าที่จำเป็น
7.3.5 ข้อมูลส่วนบุคคลที่จัดเก็บไว้ จะต้องไม้จัดเก็บเป็นระยะนานไปกว่าที่แจ้งไว้ในวัตถประสงค์ของการ จัดเก็บ
7.3.6 ข้อมูลส่วนบุคคลที่จัดเก็บไว้ โดยผู้ดำเนินการในสำนักงานคอมพิวเตอร์ จะต้องได้รับการจัดให้มี มาตรการรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสมในการเข้าถึง เปิดเผยหรือทำลายโดยไม่ได้รับอนุญาต และรักษาความปลอดภัยต่อ การสูญหาย หรือ ทำลายลงโดยอุบัติเหตุ
นักวิชาการเงินและบัญชี ระดับ3 พนักงาน อบต. เทศบาล
เขียนโดย small ที่ 07:15
1. เงินตราต่างประเทศเป็นเงินได้พึงประเมินต้องคำนวณเป็นเงินตราไทย โดยอ้างอิงคำนวณเป็นเงินตราไทย โดยอ้างอิงการคำนวณเป็นเงินตราไทยจากที่ใด
ก. ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข. ธนาคารพาณิชย์ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์
ค. ธนาคารกลางโลก
ง´ ข้อ ก. และ ข. ถูกต้อง
2. เงินตราต่างประเทศที่เป็นเงินได้พึงประเมินต้องคำนวณเป็นเงินตราไทย ใช้อัตราแลกเปลี่ยนเมื่อใด
ก. อัตราแลกเปลี่ยนในแต่ละวัน
ข. อัตราการแลกเปลี่ยนในวันถัดไป
ค. อัตราการเปลี่ยนในทุกวันจันทร์ต่อสัปดาห์ ของตลาดหลักทรัพย์
ง. อัตราการเปลี่ยนในทุกวันศุกร์สุดสัปดาห์ ของตลาดหลักทรัพย์
3. กรณีที่ใช้อัตราการแลกเปลี่ยนของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือธนาคารพาณิชย์ต้องใช้เพียงธนาคารใด ธนาคารหนึ่งเพียงธนาคารเดียว หากต้องการเปลี่ยนธนาคารที่อ้างอิงอัตราการแลกเปลี่ยนต้องอนุมัติจากผู้ใด
ก. อธิการบดีสรรพากร
ข. ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
ค. รัฐมนตรีการกระทรวงการคลัง
ง. ปลัดกระทรวงการคลัง
4. รางวัลที่ได้จากการชิงโชค เป็นเงินพึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ไม่มีการประเมินใดๆในรางวัล
ค. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ง. ทรัพย์สินหรือรางวัลได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
5. บ้านพักที่จัดให้อยู่ฟรี จัดเป็นเงินได้พึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ประโยชน์ซึ่งอาจคำคำนวณได้เป็นเงิน
ค. ทรัพย์สินหรือรางวัลได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
ง. ถูกทุกข้อ
6. ได้รับค่าตอบแทนเป็น “หุ้น” จัดเป็นเงินได้พึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ค. ค่าตอบแทน ที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
ง. ถูกทุกข้อ
7. การคำนวณเครดิตเงินปันผล เพื่อบรรเทาภาษีซ้ำซ้อนของเงินปันผลที่ส่วนหนึ่งได้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลไปแล้วคำนวณได้จาก
ก. เงินปันผล x
ข. เงินปันผล x 100
ค. เงินปันผล x
ง. เงินปันผล x
8. ผู้มีเงินได้จากส่วนแบ่งกำไรจากกองทุนรวม สามารถคำนวณเครดิตเงินปันผลได้โดยมีการคำนวณอย่างไร
ก. 30% ของเงินปันผลจากกองทุน
ข. เงินปันผล x
ค. 5% จากมูลค่าทั้งหมดของกองทุนรวม
ง. เงินได้จากกองทุนไม่มีสิทธิ์ได้รับเครดิตภาษี เนื่องจากไม่ต้องเสียภาษีอยู่แล้ว
9. แหล่งเงินได้ของผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 41พิจารณาอย่างไร
ก. เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ คือหน้าที่การงานกิจกรรม ทรัพย์สิน หรือ กิจการของนายจ้างที่เกิดขึ้น สืบเนื่องหรือเกิดในประเทศไทย
ข. เงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศ คือหน้าที่การงาน กิจการงานหรือทรัพย์สินในต่างประเทศ โดยประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ประการ คือผู้อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้นและนำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษีนั้น
ค. ถูกทั้งสองข้อ
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
10. ผู้อยู่ในประเทศ ตามประมวลรัษฎากร หมายถึงผู้ที่อยู่ในประเทศเป็นระยะเวลานานเท่าใด
ก. ผู้อยู่ในประเทศไทยชั่วระยะเวลา ไม่จำกัดระยะเวลา
ข. ผู้ที่อยู่ในประเทศไทยเวลาหนึ่งหรือ หลายเวลารวมทั้งหมดถึง 3 เดือนขึ้นไป
ค. ผู้ที่อยู่ในประเทศในเวลาหรือ หลายเวลารวมทั้งหมดถึง 180 วัน
ง. ไม่มีข้อถูก
11. นายจอห์น ชาวต่างชาติ เข้ามาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2547 และกลับออกไปโดยได้รับเงินจำนวน 50,000 บาท เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2548 นายจอร์น ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเท่าใด
ก. ไม่ต้องเสียภาษี
ข. เสียภาษี 5% ของรายได้
ค. หาข้อสรุปไม่ได้
ง. ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของนายจอห์น
12. ข้อใดไม่ใช่เป็นบุคคลที่ได้รับยกเว้นเงินได้บุคคลธรรมดา
ก. บุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่างไทยกับต่างชาติ
ข. สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล
ค. บุคคลสัญชาติอเมริกาที่ปฏิบัติงานในนิติบุคคลตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา และไทยให้ความยินยอม
ง. บุคคลในธนาคารต่างประเทศที่มีสำนักงานอยู่ในประเทศไทย
13. ข้อใด มิใช่เงินได้ที่รับยกเว้นภาษีบุคคลธรรมดา
ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะที่จ่ายไปโดยสุจริต เนื่องในงานของตน
ข. เงินปันผลจากกิจการส่งเสริมการลงทุน
ค. เงินที่ได้จากการขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือมิได้มุ่งในการค้าหรือหากำไร
ง. เงินจากการถูกล๊อตตารี่ รางวัลที่ 1
14. ข้อใด มิใช่แหล่งเงินได้ในประเทศไทย
ก. แสดงทำงานต่างประเทศและถูกเงินกลับให้ภรรยา
ข. ภรรยาของแดง ทำงานเป็นแม่บ้านของบริษัทในประเทศไทย
ค. แม่ของแดง มีกิจการร้านอาหารในประเทศไทย
ง. แดงมีทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย
15. นายหม่ำ เป็นพนักงานบริษัทประเทศไทย ได้เดินทางไปใช้ชีวิตในอังกฤษ บริษัทได้จ่ายเงินเดือนในปีภาษี 2548 โดยโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารหม่ำที่ประเทศอังกฤษ นายบอยต้องชำระภาษีหรือไม่ เพราะอะไร
ก. ต้องชำระในปี 2548 เพราะเงินได้เกิดจากหน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
ข. ต้องชำระภาษีในปี 2548 เพียงบางส่วนเท่านั้น โดยคำนวณจากวันที่ทำงานใน ประเทศไทย
ค. ไม่ต้องชำระภาษีใด ในประเทศ เพราะไปทำงานต่างประเทศ
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
16. หากนายหม่ำ เป็นคนสัญชาติอังกฤษ แต่เป็นพนักงานบริษัทในประเทศไทย และได้เดินทางไปใช้ชีวิตในอังกฤษ บริษัทได้จ่ายเงินเดือนในปีภาษี 2548 โดยโอนเข้าบัญชีธนาคาร นายหม่ำที่ประเทศอังกฤษ นายหม่าต้องชำระภาษีหรือไม่ เพราะเหตุใด
ก. จะเสียภาษีก็ได้หรือไม่เสียก็ได้ ได้รับการยกเว้น
ข. ต้องชำรพภาษีในปี 2548 เพราะเงินได้เกิดจากหน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
ค. ไม่ต้องชำระภาษีใดๆ ในประเทศ เพราะเป็นชาวต่างประเทศ
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
17. แหล่งเงินได้นอกประเทศไทย จะถือเป็นเงินได้พึงประเมินที่ต้องชำระภาษี กรณีใดบ้าง
ก. หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ
ข. กิจการที่ทำในต่างประเทศ
ค. ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
18. กรณีเงินได้ที่เกิดจาก “หน้าที่งานที่ทำต่างประเทศ” “กิจการที่ทำในต่างประเทศ” หรือ “ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ” จะต้องเสียภาษีต้องมีองค์ประกอบใดด้วย
ก. เป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้นรวมกัน 180วัน
ข. เงินได้เข้าประเทศในปีภาษีนั้น
ค. ถูกทั้งสองข้อ
ง. ผิดทั้งสองข้อ
19. นายสมบัติ มีกิจการอยู่ในต่างประเทศ แต่อยู่ในประเทศไทย เดือนเว้นเดือน มีระยะเวลาไม่ต่อเนื่องในปี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศไทยในปีภาษี 2548 เป็นเงิน 20 ล้านบาท ต้องเสียภาษีในประเทศหรือไม่
ก. ต้องเสียภาษี
ข. ไม่ต้องเสียภาษี
ค. ไม่ชัดเจน
ง. ไม่มีข้อถูก
20. นายสมบัติ มีกิจการอยู่ในต่างประเทศ แต่อยู่ในประเทศไทย เดือนเว้นเดือน มีระยะเวลาไม่ต่อเนื่องในปี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษี 2549 เป็นเงิน 20 ล้านบาท หากปี พ.ศ. 2549 นายสมบัติกลับเข้ามาประเทศไทย 1 ธันวาคม 2549 – 31 ธันวาคม 2549 จะต้องเสียภาษีหรือไม่ และต้องเสียภาษีในปีภาษีใด
ก. ต้องเสียภาษีเฉพาะในปีงบประมาณ 2548
ข. ต้องเสียภาษีเฉพาะในปีงบประมาณ 2549
ค. ต้องเสียภาษีในปีงบประมาณ 2548 และปีงบประมาณ 2549
ง. ไม่ต้องเสียภาษี
ก. ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข. ธนาคารพาณิชย์ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์
ค. ธนาคารกลางโลก
ง´ ข้อ ก. และ ข. ถูกต้อง
2. เงินตราต่างประเทศที่เป็นเงินได้พึงประเมินต้องคำนวณเป็นเงินตราไทย ใช้อัตราแลกเปลี่ยนเมื่อใด
ก. อัตราแลกเปลี่ยนในแต่ละวัน
ข. อัตราการแลกเปลี่ยนในวันถัดไป
ค. อัตราการเปลี่ยนในทุกวันจันทร์ต่อสัปดาห์ ของตลาดหลักทรัพย์
ง. อัตราการเปลี่ยนในทุกวันศุกร์สุดสัปดาห์ ของตลาดหลักทรัพย์
3. กรณีที่ใช้อัตราการแลกเปลี่ยนของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือธนาคารพาณิชย์ต้องใช้เพียงธนาคารใด ธนาคารหนึ่งเพียงธนาคารเดียว หากต้องการเปลี่ยนธนาคารที่อ้างอิงอัตราการแลกเปลี่ยนต้องอนุมัติจากผู้ใด
ก. อธิการบดีสรรพากร
ข. ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
ค. รัฐมนตรีการกระทรวงการคลัง
ง. ปลัดกระทรวงการคลัง
4. รางวัลที่ได้จากการชิงโชค เป็นเงินพึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ไม่มีการประเมินใดๆในรางวัล
ค. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ง. ทรัพย์สินหรือรางวัลได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
5. บ้านพักที่จัดให้อยู่ฟรี จัดเป็นเงินได้พึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ประโยชน์ซึ่งอาจคำคำนวณได้เป็นเงิน
ค. ทรัพย์สินหรือรางวัลได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
ง. ถูกทุกข้อ
6. ได้รับค่าตอบแทนเป็น “หุ้น” จัดเป็นเงินได้พึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ค. ค่าตอบแทน ที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
ง. ถูกทุกข้อ
7. การคำนวณเครดิตเงินปันผล เพื่อบรรเทาภาษีซ้ำซ้อนของเงินปันผลที่ส่วนหนึ่งได้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลไปแล้วคำนวณได้จาก
ก. เงินปันผล x
ข. เงินปันผล x 100
ค. เงินปันผล x
ง. เงินปันผล x
8. ผู้มีเงินได้จากส่วนแบ่งกำไรจากกองทุนรวม สามารถคำนวณเครดิตเงินปันผลได้โดยมีการคำนวณอย่างไร
ก. 30% ของเงินปันผลจากกองทุน
ข. เงินปันผล x
ค. 5% จากมูลค่าทั้งหมดของกองทุนรวม
ง. เงินได้จากกองทุนไม่มีสิทธิ์ได้รับเครดิตภาษี เนื่องจากไม่ต้องเสียภาษีอยู่แล้ว
9. แหล่งเงินได้ของผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 41พิจารณาอย่างไร
ก. เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ คือหน้าที่การงานกิจกรรม ทรัพย์สิน หรือ กิจการของนายจ้างที่เกิดขึ้น สืบเนื่องหรือเกิดในประเทศไทย
ข. เงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศ คือหน้าที่การงาน กิจการงานหรือทรัพย์สินในต่างประเทศ โดยประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ประการ คือผู้อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้นและนำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษีนั้น
ค. ถูกทั้งสองข้อ
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
10. ผู้อยู่ในประเทศ ตามประมวลรัษฎากร หมายถึงผู้ที่อยู่ในประเทศเป็นระยะเวลานานเท่าใด
ก. ผู้อยู่ในประเทศไทยชั่วระยะเวลา ไม่จำกัดระยะเวลา
ข. ผู้ที่อยู่ในประเทศไทยเวลาหนึ่งหรือ หลายเวลารวมทั้งหมดถึง 3 เดือนขึ้นไป
ค. ผู้ที่อยู่ในประเทศในเวลาหรือ หลายเวลารวมทั้งหมดถึง 180 วัน
ง. ไม่มีข้อถูก
11. นายจอห์น ชาวต่างชาติ เข้ามาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2547 และกลับออกไปโดยได้รับเงินจำนวน 50,000 บาท เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2548 นายจอร์น ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเท่าใด
ก. ไม่ต้องเสียภาษี
ข. เสียภาษี 5% ของรายได้
ค. หาข้อสรุปไม่ได้
ง. ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของนายจอห์น
12. ข้อใดไม่ใช่เป็นบุคคลที่ได้รับยกเว้นเงินได้บุคคลธรรมดา
ก. บุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่างไทยกับต่างชาติ
ข. สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล
ค. บุคคลสัญชาติอเมริกาที่ปฏิบัติงานในนิติบุคคลตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา และไทยให้ความยินยอม
ง. บุคคลในธนาคารต่างประเทศที่มีสำนักงานอยู่ในประเทศไทย
13. ข้อใด มิใช่เงินได้ที่รับยกเว้นภาษีบุคคลธรรมดา
ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะที่จ่ายไปโดยสุจริต เนื่องในงานของตน
ข. เงินปันผลจากกิจการส่งเสริมการลงทุน
ค. เงินที่ได้จากการขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือมิได้มุ่งในการค้าหรือหากำไร
ง. เงินจากการถูกล๊อตตารี่ รางวัลที่ 1
14. ข้อใด มิใช่แหล่งเงินได้ในประเทศไทย
ก. แสดงทำงานต่างประเทศและถูกเงินกลับให้ภรรยา
ข. ภรรยาของแดง ทำงานเป็นแม่บ้านของบริษัทในประเทศไทย
ค. แม่ของแดง มีกิจการร้านอาหารในประเทศไทย
ง. แดงมีทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย
15. นายหม่ำ เป็นพนักงานบริษัทประเทศไทย ได้เดินทางไปใช้ชีวิตในอังกฤษ บริษัทได้จ่ายเงินเดือนในปีภาษี 2548 โดยโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารหม่ำที่ประเทศอังกฤษ นายบอยต้องชำระภาษีหรือไม่ เพราะอะไร
ก. ต้องชำระในปี 2548 เพราะเงินได้เกิดจากหน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
ข. ต้องชำระภาษีในปี 2548 เพียงบางส่วนเท่านั้น โดยคำนวณจากวันที่ทำงานใน ประเทศไทย
ค. ไม่ต้องชำระภาษีใด ในประเทศ เพราะไปทำงานต่างประเทศ
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
16. หากนายหม่ำ เป็นคนสัญชาติอังกฤษ แต่เป็นพนักงานบริษัทในประเทศไทย และได้เดินทางไปใช้ชีวิตในอังกฤษ บริษัทได้จ่ายเงินเดือนในปีภาษี 2548 โดยโอนเข้าบัญชีธนาคาร นายหม่ำที่ประเทศอังกฤษ นายหม่าต้องชำระภาษีหรือไม่ เพราะเหตุใด
ก. จะเสียภาษีก็ได้หรือไม่เสียก็ได้ ได้รับการยกเว้น
ข. ต้องชำรพภาษีในปี 2548 เพราะเงินได้เกิดจากหน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
ค. ไม่ต้องชำระภาษีใดๆ ในประเทศ เพราะเป็นชาวต่างประเทศ
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
17. แหล่งเงินได้นอกประเทศไทย จะถือเป็นเงินได้พึงประเมินที่ต้องชำระภาษี กรณีใดบ้าง
ก. หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ
ข. กิจการที่ทำในต่างประเทศ
ค. ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
18. กรณีเงินได้ที่เกิดจาก “หน้าที่งานที่ทำต่างประเทศ” “กิจการที่ทำในต่างประเทศ” หรือ “ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ” จะต้องเสียภาษีต้องมีองค์ประกอบใดด้วย
ก. เป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้นรวมกัน 180วัน
ข. เงินได้เข้าประเทศในปีภาษีนั้น
ค. ถูกทั้งสองข้อ
ง. ผิดทั้งสองข้อ
19. นายสมบัติ มีกิจการอยู่ในต่างประเทศ แต่อยู่ในประเทศไทย เดือนเว้นเดือน มีระยะเวลาไม่ต่อเนื่องในปี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศไทยในปีภาษี 2548 เป็นเงิน 20 ล้านบาท ต้องเสียภาษีในประเทศหรือไม่
ก. ต้องเสียภาษี
ข. ไม่ต้องเสียภาษี
ค. ไม่ชัดเจน
ง. ไม่มีข้อถูก
20. นายสมบัติ มีกิจการอยู่ในต่างประเทศ แต่อยู่ในประเทศไทย เดือนเว้นเดือน มีระยะเวลาไม่ต่อเนื่องในปี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษี 2549 เป็นเงิน 20 ล้านบาท หากปี พ.ศ. 2549 นายสมบัติกลับเข้ามาประเทศไทย 1 ธันวาคม 2549 – 31 ธันวาคม 2549 จะต้องเสียภาษีหรือไม่ และต้องเสียภาษีในปีภาษีใด
ก. ต้องเสียภาษีเฉพาะในปีงบประมาณ 2548
ข. ต้องเสียภาษีเฉพาะในปีงบประมาณ 2549
ค. ต้องเสียภาษีในปีงบประมาณ 2548 และปีงบประมาณ 2549
ง. ไม่ต้องเสียภาษี
ปลัด อบต (เจ้าหน้าที่ปกครองท้องถิ่น)
เขียนโดย small ที่ 07:15
33. การเก็บเอกสารที่ดีที่สุดควรปฏิบัติอย่างไร
ก. เก็บเอกสารที่มีระบบเดียวตลอด ข. เก็บเอกสารที่มีอุปกรณ์พร้อม
ค. เก็บเอกสารไว้อย่างเป็นระบบ ง. เก็บเอกสารให้เป็นปัจจุบัน
ตอบ ง. เก็บเอกสารให้เป็นปัจจุบัน
34. จุดประสงค์ที่สำคัญในการจัดเก็บเอกสารอย่างมีระบบไว้ในที่เดียวกัน คือ
ก. ค้นหาเอกสารได้ทันท่วงที
ข. เพื่อความปลอดภัยและเอกสารจะอยู่อย่างเป็นระเบียบ
ค. เพื่อรวบรวมเอกสารไว้ในแหล่งที่มีผู้รับผิดชอบเป็นสัดส่วน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
35. จดหมายราชการ ไม่ควรใช้สำนวนในข้อใด
ก. ภาษานักประพันธ์หรือภาษาพูด ข. ถูกต้องตามสากลนิยม
ค. เรียบร้อย ง. สุภาพ
ตอบ ก. ภาษานักประพันธ์หรือภาษาพูด
36. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
ก. ตี ข. ตบ
ค. เตะ ง. ต่อย
ตอบ ค. เตะ
37. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
ก. โต ข. จิ๋ว
ค. นิด ง. เล็ก
ตอบ ก. โต
38. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
ก. ฉิ่ง ข. ซอ
ค. กลอง ง. ระนาด
ตอบ ข. ซอ
39. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
ก. มะขาม ข. มะยม
ค. มะปราง ง. มะนาว
ตอบ ง. มะนาว
40. คำตอบในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น
ก. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า ข. ลิ้นกับฟัน
ค. ขิงก็ราข่าก็แรง ง. เกลือจิ้มเกลือ
ตอบ ก. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
41. พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่เท่าไร
ก. 21 ข. 22
ค. 23 ง. 24
ตอบ ค. 23
42. สมาชิกวุฒิสภาชุดปัจจุบันมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. 4 ปี ข. 6 ปี
ค. 7 ปี ง. 9 ปี
ตอบ ข. 6 ปี
43. จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน มี
ก. 500 คน ข. 400 คน
ค. 200 คน ง. 700 คน
ตอบ ก. 500 คน
44. ใครดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา
ก. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ข. ประธานศาลฎีกา
ค. ประธานวุฒิสภา ง. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ตอบ ง. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
45. ข้อใดเป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง
ก. เลขานุการนายกรัฐมนตรี ข. เลขานุการคณะรัฐมนตรี
ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ง. ปลัดกระทรวง
ตอบ ก. เลขานุการนายกรัฐมนตรี
46. คณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีกี่คน
ก. 34 ข. 35
ค. 36 ง. 40
ตอบ ค. 36
47. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 ได้ปรับปรุงมาจากระเบียบใด
ก. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2540
ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
ค. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2542
ง. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2543
ตอบ ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
48. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 เมื่อมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้ใช้เมื่อพ้นกำหนดกี่วัน
ก. 30 วัน ข. 60 วัน
ค. 90 วัน ง. 180 วัน
ตอบ ค. 90 วัน
49. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น" ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 ไม่ได้หมายความถึงข้อใด
ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล
ข. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา
ค. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร
ตอบ ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร
50. ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 คำว่า "แผนพัฒนา" ไม่ได้หมายถึง
ก. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ข. แผนพัฒนาห้าปี
ค. แผนพัฒนาสามปี ง. ไม่มีข้อถูกต้อง
ตอบ ข. แผนพัฒนาห้าปี
51. องค์กรจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล คณะกรรมการชุดใดไม่เกี่ยวข้องด้วย
ก. คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
ข. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
ค. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
52. คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล มีประธานกรรมการคือ
ก. ประธานสภา อบต ข. ปลัด อบต
ค. นายก อบต. ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก
ตอบ ค. นายก อบต.
53. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลมีประธานคือ
ก. ประธานสภา อบต. ข. ปลัด อบต.
ค. นายก อบต. ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก
ตอบ ข. ปลัด อบต.
54. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา อบต. มีประธานกรรมการคือ
ก. ประธานสภา อบต. ข. ปลัด อบต.
ค. นายก อบต. ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก
ตอบ ก. ประธานสภา อบต.
ก. เก็บเอกสารที่มีระบบเดียวตลอด ข. เก็บเอกสารที่มีอุปกรณ์พร้อม
ค. เก็บเอกสารไว้อย่างเป็นระบบ ง. เก็บเอกสารให้เป็นปัจจุบัน
ตอบ ง. เก็บเอกสารให้เป็นปัจจุบัน
34. จุดประสงค์ที่สำคัญในการจัดเก็บเอกสารอย่างมีระบบไว้ในที่เดียวกัน คือ
ก. ค้นหาเอกสารได้ทันท่วงที
ข. เพื่อความปลอดภัยและเอกสารจะอยู่อย่างเป็นระเบียบ
ค. เพื่อรวบรวมเอกสารไว้ในแหล่งที่มีผู้รับผิดชอบเป็นสัดส่วน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
35. จดหมายราชการ ไม่ควรใช้สำนวนในข้อใด
ก. ภาษานักประพันธ์หรือภาษาพูด ข. ถูกต้องตามสากลนิยม
ค. เรียบร้อย ง. สุภาพ
ตอบ ก. ภาษานักประพันธ์หรือภาษาพูด
36. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
ก. ตี ข. ตบ
ค. เตะ ง. ต่อย
ตอบ ค. เตะ
37. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
ก. โต ข. จิ๋ว
ค. นิด ง. เล็ก
ตอบ ก. โต
38. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
ก. ฉิ่ง ข. ซอ
ค. กลอง ง. ระนาด
ตอบ ข. ซอ
39. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
ก. มะขาม ข. มะยม
ค. มะปราง ง. มะนาว
ตอบ ง. มะนาว
40. คำตอบในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น
ก. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า ข. ลิ้นกับฟัน
ค. ขิงก็ราข่าก็แรง ง. เกลือจิ้มเกลือ
ตอบ ก. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
41. พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่เท่าไร
ก. 21 ข. 22
ค. 23 ง. 24
ตอบ ค. 23
42. สมาชิกวุฒิสภาชุดปัจจุบันมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. 4 ปี ข. 6 ปี
ค. 7 ปี ง. 9 ปี
ตอบ ข. 6 ปี
43. จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน มี
ก. 500 คน ข. 400 คน
ค. 200 คน ง. 700 คน
ตอบ ก. 500 คน
44. ใครดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา
ก. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ข. ประธานศาลฎีกา
ค. ประธานวุฒิสภา ง. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ตอบ ง. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
45. ข้อใดเป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง
ก. เลขานุการนายกรัฐมนตรี ข. เลขานุการคณะรัฐมนตรี
ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ง. ปลัดกระทรวง
ตอบ ก. เลขานุการนายกรัฐมนตรี
46. คณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีกี่คน
ก. 34 ข. 35
ค. 36 ง. 40
ตอบ ค. 36
47. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 ได้ปรับปรุงมาจากระเบียบใด
ก. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2540
ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
ค. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2542
ง. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2543
ตอบ ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
48. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 เมื่อมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้ใช้เมื่อพ้นกำหนดกี่วัน
ก. 30 วัน ข. 60 วัน
ค. 90 วัน ง. 180 วัน
ตอบ ค. 90 วัน
49. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น" ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 ไม่ได้หมายความถึงข้อใด
ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล
ข. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา
ค. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร
ตอบ ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร
50. ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 คำว่า "แผนพัฒนา" ไม่ได้หมายถึง
ก. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ข. แผนพัฒนาห้าปี
ค. แผนพัฒนาสามปี ง. ไม่มีข้อถูกต้อง
ตอบ ข. แผนพัฒนาห้าปี
51. องค์กรจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล คณะกรรมการชุดใดไม่เกี่ยวข้องด้วย
ก. คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
ข. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
ค. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
52. คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล มีประธานกรรมการคือ
ก. ประธานสภา อบต ข. ปลัด อบต
ค. นายก อบต. ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก
ตอบ ค. นายก อบต.
53. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลมีประธานคือ
ก. ประธานสภา อบต. ข. ปลัด อบต.
ค. นายก อบต. ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก
ตอบ ข. ปลัด อบต.
54. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา อบต. มีประธานกรรมการคือ
ก. ประธานสภา อบต. ข. ปลัด อบต.
ค. นายก อบต. ง. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก
ตอบ ก. ประธานสภา อบต.
นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ (ด้านพืชไร่)
เขียนโดย small ที่ 07:13
1. การเกษตรแบบยั่งยืน มีความหมายว่าอย่างไร
ก การทำเกษตรหรือการผลิคเพื่อยังชีพ
ข การทำการเกษตรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ค การเกษตรที่เกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อรักษาดุลภาพทางธรรมชาติและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เกษตรกร
ง เกษตรกรรมมีทั้งการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ควบคู่กันไป
2. ประโยชน์ของการเกษตรแบบผสมผสานมีหลายประการ ยกเว้น ข้อใด
ก มีอาหารไว้บริโภคในครอบครัว
ข มีกิจกรรมจำกัด มีรายได้น้อยลง
ค ใช้ทรัพยากรในไร่อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
ง ช่วยทำให้สภาพแวดล้อมและสุขภาพของการเกษตรดีขึ้น
3. ปุ๋ยชนิดใดช่วยในการเจริญเติบโตของพืชในส่วนที่เป็นลำต้นและใบ
ก ปุ๋ยฟอสฟอรัส
ข ปุ๋ยไนโตรเจน
ค ปุ๋ยโพแทสเซียม
ง ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรท
4. สาเหตุใดในการปลูกพืชจึงต้องมีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์พืช
ก เพราะงายต่อการดูแลรักษา
ข ทำให้ปลูกพืชได้ปริมาณมาก
ค เปอร์เซ็นต์ความงอกของเม็ลดจะลดลง
ง เพราะเมื่อนำไปปลูกต้นพืชจะมีลักษณะดี มีความสมบูรณ์และแข็งแรง
5. วิธีการให้น้ำแก่พืชมีหลายวีธี ยกเว้น ข้อใด
ก วิธีให้น้ำแบบตัก
ข วิธีให้น้ำแบบหยด
ค วิธีให้น้ำแบบเป็นฝอย
ง วิธีให้น้ำแบบประหยัด
6. ข้อใด ไม่ใช่ โรคพืชที่ทำให้พืชมีลักษณะอาการผิดไปจากปกติ
ก โรคพืชเกิดจากเชื้อไวรัส
ข โรคพืชเกิดจากเชื้อราแดง
ค โรคพืชเกิดจากไส้เดือนฝอย
ง โรคพืชเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
7. การเก็บผลผลิตทางการเกษตรเพื่อนำมาบ่มและทำให้มีรสชาติที่ดี ควรเก็บผลผลิตทางการเกษตรเมื่อใด
ก ผลผลิตเริ่มสุกจึงเก็บ
ข เก็บตอนที่ผลผลิตแก่จัดเต็มที่
ค เก็บตอนเช้าผลผลิตจะไม่เหี่ยวง่าย
ง เก็บตอนที่ยังดิบอยู่ทำให้เกิดสีสันสวยงาม
8. ข้าวเจ้าเราสามารถนำมาทำผลิตภัณฑ์โดยการแปรรูปคือข้อใด
ก อาหารสัตว์ เต้าหู้ และวุ้นเส้น
ข เครื่องดืม แป้งถั่ว และน้ำมัน
ค แป้ง เส้นก๋วยเตี๋ยว และขนมจีน
ง ทอฟฟี่ เต้าเจี้ยว และซอสปรุงรส
9. ผลไม้ชนิดใดที่จัดอยู่ในประเภทผลรวม
ก เงาะ
ข ขนุน
ค ลำไย
ง มะละกอ
10. การถนอมอาหารโดยใช้รังสีชนิดใด
ก รังสีเกรย์
ข รังสีเบต้า
ค รังสีแกมมา
ง รังสีอิเล็กทรอนิกส์
11. ปัจจุบันมีการซื้อขายสินค้าทางอินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลาย โดยมีการเรียกว่าอย่างไร
ก Evaluation
ข E- compurter
ค E-commerce
ง Extra-service
12. ท่านสามารถขอข้อมูลหรือคำแนะนำในการเลี้ยงสัตว์ได้จากหลายหน่วยงาน ยกเว้น ที่ใด
ก ร้านภูฟ้า
ข ปศุสัตว์จังหวัด
ค บริษัทเจริญโภคภัณฑ์
ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
13. ข้อใดกล่าวถึงวัสดุที่ใช้รองพื้นคอกสัตว์
ก แกลบ ค ขี้กบ
ข อิฐ ง ฟาง
14. ข้อใดคือการดูแลเลี้ยงปลาสวยงามอย่างถูกวิธี
ก ให้อาหารปลา 4-5 ครั้งต่อวัน
ข ทำความสะอาดตู้ปลานาน ๆ ครั้ง
ค ใส่พืชน้ำหรือวัสดุประดับตู้ลงไปเยอะ ๆ
ง ควรมีเครื่องทำออกซิเจนเปิดไว้ในตู้ปลาตลอดเวลา
15. พืชสมุนไพรชนิดใดใช้ปราบศัตรูพืชได้
ก สะเดา และตะไคร้
ข ใบโหระพาและใบเตย
ค ใบแมงลักและผักหวาน
ง ต้นชะพลูและใบทองหลาง
16. ในการพิจารณาคัดเลือกพืชที่ปลูกมีหลายประการ ยกเว้น ข้อใด
ก ลักษณะเฉพาะของพืช
ข พื้นที่ปลูกและวัสดุอุปกรณ์
ค วัตถุประสงค์ของการปลูกพืช
ง สามารถปลูกทิ้งไว้ได้ ดูแลรดน้ำบ้างพอสมควร
17. การคัดเลือกพันธุ์พืช มีความหมายว่าอย่างไร
ก การทำให้ต้นพืชมีลักษณะดี
ข พืชแต่ละชนิดมีหลายพันธุ์
ค ปลูกพืชที่ขายผลผลิตได้ง่าย
ง การนำเอาพืชที่คนกำลังนิยมมาปลูก
18. ข้อใดกล่าวถึงหลักการคัดเลือกพันธุ์พืช ไม่ถูกต้อง
ก เลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับท้องถิ่น
ข เลือกพันธุ์ที่มีความทนทานต่อการทำลายศัตรูพืช
ค เลือกพันธุ์ใดก็ได้ไม่ต้องคำนึงว่าต้องตรงตามสายพันธุ์
ง เลือกพันธุ์ที่ตรงตามความต้องการของตลาด
19. วิธีทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ์โดยวิธีง่าย ๆ คือข้อใด
ก นำไปคั่วบนเตาไฟเพื่อทำลายแมลง
ข นำเมล็ดพันธุ์ไปชั่งน้ำหนักว่าได้มาตรฐานหรือไม่
ค นำเมล็ดพันธุ์ไปลอยน้ำในภาชนะ ถ้าเมล็ดพันธุ์ไปแช่ในด่างทับทิมเพื่อเพิ่มความงอก
ง นำเมล็ดพันธุ์ไปแช่ในด่างทับทิมเพื่อเพิ่มความงอก
20. ข้อใดคือประโยชย์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ก เกิดการกลายพันธุ์
ข คัดพันธุ์พืชที่ดีไว้ปลูกได้
ค ช่วยลดความต้านทานให้แก่พันธุ์พืช
ง ผลิตพืชได้เป็นจำนวนมากในระยะเวลาสั้น
ก การทำเกษตรหรือการผลิคเพื่อยังชีพ
ข การทำการเกษตรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ค การเกษตรที่เกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อรักษาดุลภาพทางธรรมชาติและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เกษตรกร
ง เกษตรกรรมมีทั้งการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ควบคู่กันไป
2. ประโยชน์ของการเกษตรแบบผสมผสานมีหลายประการ ยกเว้น ข้อใด
ก มีอาหารไว้บริโภคในครอบครัว
ข มีกิจกรรมจำกัด มีรายได้น้อยลง
ค ใช้ทรัพยากรในไร่อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
ง ช่วยทำให้สภาพแวดล้อมและสุขภาพของการเกษตรดีขึ้น
3. ปุ๋ยชนิดใดช่วยในการเจริญเติบโตของพืชในส่วนที่เป็นลำต้นและใบ
ก ปุ๋ยฟอสฟอรัส
ข ปุ๋ยไนโตรเจน
ค ปุ๋ยโพแทสเซียม
ง ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรท
4. สาเหตุใดในการปลูกพืชจึงต้องมีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์พืช
ก เพราะงายต่อการดูแลรักษา
ข ทำให้ปลูกพืชได้ปริมาณมาก
ค เปอร์เซ็นต์ความงอกของเม็ลดจะลดลง
ง เพราะเมื่อนำไปปลูกต้นพืชจะมีลักษณะดี มีความสมบูรณ์และแข็งแรง
5. วิธีการให้น้ำแก่พืชมีหลายวีธี ยกเว้น ข้อใด
ก วิธีให้น้ำแบบตัก
ข วิธีให้น้ำแบบหยด
ค วิธีให้น้ำแบบเป็นฝอย
ง วิธีให้น้ำแบบประหยัด
6. ข้อใด ไม่ใช่ โรคพืชที่ทำให้พืชมีลักษณะอาการผิดไปจากปกติ
ก โรคพืชเกิดจากเชื้อไวรัส
ข โรคพืชเกิดจากเชื้อราแดง
ค โรคพืชเกิดจากไส้เดือนฝอย
ง โรคพืชเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
7. การเก็บผลผลิตทางการเกษตรเพื่อนำมาบ่มและทำให้มีรสชาติที่ดี ควรเก็บผลผลิตทางการเกษตรเมื่อใด
ก ผลผลิตเริ่มสุกจึงเก็บ
ข เก็บตอนที่ผลผลิตแก่จัดเต็มที่
ค เก็บตอนเช้าผลผลิตจะไม่เหี่ยวง่าย
ง เก็บตอนที่ยังดิบอยู่ทำให้เกิดสีสันสวยงาม
8. ข้าวเจ้าเราสามารถนำมาทำผลิตภัณฑ์โดยการแปรรูปคือข้อใด
ก อาหารสัตว์ เต้าหู้ และวุ้นเส้น
ข เครื่องดืม แป้งถั่ว และน้ำมัน
ค แป้ง เส้นก๋วยเตี๋ยว และขนมจีน
ง ทอฟฟี่ เต้าเจี้ยว และซอสปรุงรส
9. ผลไม้ชนิดใดที่จัดอยู่ในประเภทผลรวม
ก เงาะ
ข ขนุน
ค ลำไย
ง มะละกอ
10. การถนอมอาหารโดยใช้รังสีชนิดใด
ก รังสีเกรย์
ข รังสีเบต้า
ค รังสีแกมมา
ง รังสีอิเล็กทรอนิกส์
11. ปัจจุบันมีการซื้อขายสินค้าทางอินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลาย โดยมีการเรียกว่าอย่างไร
ก Evaluation
ข E- compurter
ค E-commerce
ง Extra-service
12. ท่านสามารถขอข้อมูลหรือคำแนะนำในการเลี้ยงสัตว์ได้จากหลายหน่วยงาน ยกเว้น ที่ใด
ก ร้านภูฟ้า
ข ปศุสัตว์จังหวัด
ค บริษัทเจริญโภคภัณฑ์
ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
13. ข้อใดกล่าวถึงวัสดุที่ใช้รองพื้นคอกสัตว์
ก แกลบ ค ขี้กบ
ข อิฐ ง ฟาง
14. ข้อใดคือการดูแลเลี้ยงปลาสวยงามอย่างถูกวิธี
ก ให้อาหารปลา 4-5 ครั้งต่อวัน
ข ทำความสะอาดตู้ปลานาน ๆ ครั้ง
ค ใส่พืชน้ำหรือวัสดุประดับตู้ลงไปเยอะ ๆ
ง ควรมีเครื่องทำออกซิเจนเปิดไว้ในตู้ปลาตลอดเวลา
15. พืชสมุนไพรชนิดใดใช้ปราบศัตรูพืชได้
ก สะเดา และตะไคร้
ข ใบโหระพาและใบเตย
ค ใบแมงลักและผักหวาน
ง ต้นชะพลูและใบทองหลาง
16. ในการพิจารณาคัดเลือกพืชที่ปลูกมีหลายประการ ยกเว้น ข้อใด
ก ลักษณะเฉพาะของพืช
ข พื้นที่ปลูกและวัสดุอุปกรณ์
ค วัตถุประสงค์ของการปลูกพืช
ง สามารถปลูกทิ้งไว้ได้ ดูแลรดน้ำบ้างพอสมควร
17. การคัดเลือกพันธุ์พืช มีความหมายว่าอย่างไร
ก การทำให้ต้นพืชมีลักษณะดี
ข พืชแต่ละชนิดมีหลายพันธุ์
ค ปลูกพืชที่ขายผลผลิตได้ง่าย
ง การนำเอาพืชที่คนกำลังนิยมมาปลูก
18. ข้อใดกล่าวถึงหลักการคัดเลือกพันธุ์พืช ไม่ถูกต้อง
ก เลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับท้องถิ่น
ข เลือกพันธุ์ที่มีความทนทานต่อการทำลายศัตรูพืช
ค เลือกพันธุ์ใดก็ได้ไม่ต้องคำนึงว่าต้องตรงตามสายพันธุ์
ง เลือกพันธุ์ที่ตรงตามความต้องการของตลาด
19. วิธีทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ์โดยวิธีง่าย ๆ คือข้อใด
ก นำไปคั่วบนเตาไฟเพื่อทำลายแมลง
ข นำเมล็ดพันธุ์ไปชั่งน้ำหนักว่าได้มาตรฐานหรือไม่
ค นำเมล็ดพันธุ์ไปลอยน้ำในภาชนะ ถ้าเมล็ดพันธุ์ไปแช่ในด่างทับทิมเพื่อเพิ่มความงอก
ง นำเมล็ดพันธุ์ไปแช่ในด่างทับทิมเพื่อเพิ่มความงอก
20. ข้อใดคือประโยชย์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ก เกิดการกลายพันธุ์
ข คัดพันธุ์พืชที่ดีไว้ปลูกได้
ค ช่วยลดความต้านทานให้แก่พันธุ์พืช
ง ผลิตพืชได้เป็นจำนวนมากในระยะเวลาสั้น
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน กรมชลประทาน
เขียนโดย small ที่ 07:13
1. การเปลี่ยนน้ำมันเครื่องควรปฏิบัติอย่างไร
1) จอดรถบนพื้นสูงแล้วดับเครื่องยนต์ประมาณ 5 นาทีก่อน
2) อุ่นเครื่องยนต์ให้ร้อนแล้วจึงถ่ายน้ำมันเครื่องออก
3) ไม่เปิดฝาเติมน้ำมันเครื่องขณะถ่ายน้ำมันเครื่องออก
4) ให้เครื่องยนต์เย็นก่อนแล้วจึงถ่ายน้ำมันเครื่องออก
เฉลย ข้อ 2
แนวความคิด
อย่าใช้แม่แรงยกรถ เพราะมันไม่ค่อยมั่นคง ให้ใช้ที่ยกรถจะปลอดภัยกว่า แม่แรงยกรถให้ลอยขึ้น จนเราสามารถที่จะเลื่อนตัวเข้าไปใต้ท้องรถได้ เมื่อนอนราบแล้ว ให้ขับรถไปบนที่ยกรถกระทั่งล้อหน้าลอยขึ้น ตั้งเบรกฉุกเฉินและให้กั้นล้อรถด้านหลังด้วยไม้กั้นเพื่อป้องกันรถไหล ใส่เกียร์หนึ่งไว้หากเป็นเกียร์ธรรมดา และตัว P ถ้าเป็นเกียร์อัตโนมัติ น้ำมันที่เย็นจะไหลออกมายากดังนั้น ควรอุ่นเครื่องไว้ประมาณ 5-10 นาที เพื่อให้อยู่ในอุณหภูมิอย่างตอนที่ใช้ (อย่าติดเครื่องโดยไม่มีน้ำมันเครื่อง)
2.ข้อต่ออ่อนมีหน้าที่อะไร
1)เปลี่ยนความยาวของเหลาหมุน
2) เปลี่ยนมุนการหมุนของเพลา
3) ขับกำลังจากเพลากลาง
4) ทิศทางการหมุนของเพลาเปลี่นไป
เฉลย ข้อ2
แนวความคิด
ข้อต่ออ่อน (Universal joint) เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ได้รับการออกแบบและสร้างมาให้ทำหน้าที่ต่อเพลา 2 ท่อนที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกัน และสามารถส่งถ่ายกำลังขับจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่งได้ ซึ่งประกอบด้วยชิ้นส่วน 3 ชิ้น ได้แก่ กากบาท เจอนัล หรือสไปเดอร์ และก้ามปู 2 ตัว ก้ามปูทั้งสองทำมุมกัน 90 องศา ปลายก้ามปูแต่ละอันจะสวมอยู่และหมุนได้ ด้วยโครงสร้างของข้อต่ออ่อนจึงสามารถส่งกำลังและอาการหมุนจากเพลาส่งกำลังจากกระปุกเกียร์ไปยังเพลากลางเฟืองท้ายรถยนต์ได้ แม้ว่ากระปุกเกียร์จะอยู่ในระดับสูงกว่าเพลาทายก็ตาม ลักษณะการทำงานของข้อต่ออ่อนแบบธรรมดาก็คือ มันจะทำให้เพลาตามเหลาที่ถูกขับ หมุนด้วยความเร็วในรอบหนึ่งๆ ไม่คงที่ความเร็วของเพลาขับไปอย่างสม่ำเสมอ
3.. ในขณะวิ่งทางตรง เฟืองตัวใดในเฟืองไม่หมุน
1) เฟืองเดือยหมู
2) เฟืองบายศรี
3) เฟืองดอกจอก
4) เฟืองเพลาข้าง
เฉลย ข้อ 4
แนวความคิด
1) เฟืองเดือยหมู เฟืองเดือยหมู ทำหน้าที่ถ่ายทอดกำลังงานของเครื่องยนต์ไปยังเฟืองบายศรี
2) เฟืองบายศรีบายศรี ทำหน้าที่เปลี่ยนทิศทางการถ่ายทอดกำลังงานที่ถ่ายทอด จากเฟืองเดือยหมู 90 องศา เพื่อขับเพลาข้าง และลดอัตราทอเกียร์ คือ ลดความเร็วรอบ ให้เหมาะสมกับขนาดของล้อรถยนต์ โดยเฟืองบายศรีจะหมุนช้ากว่าเฟืองเดือยหมู
3) เฟืองดอกจอก เฟืองดอกจอก ทำหน้าที่ แบ่งแยกกำลังงาน ที่จะส่งไปยังเพลาข้างซ้ายและขวา เพื่อความเร็วแตกต่างกันในขณะขับรถเลี้ยวโค้ง
4) เฟืองเพลาข้างเฟืองข้าง ทำหน้าที่ขับเพลาข้างเพื่อไปหมุนล้อรถยนต์
1) จอดรถบนพื้นสูงแล้วดับเครื่องยนต์ประมาณ 5 นาทีก่อน
2) อุ่นเครื่องยนต์ให้ร้อนแล้วจึงถ่ายน้ำมันเครื่องออก
3) ไม่เปิดฝาเติมน้ำมันเครื่องขณะถ่ายน้ำมันเครื่องออก
4) ให้เครื่องยนต์เย็นก่อนแล้วจึงถ่ายน้ำมันเครื่องออก
เฉลย ข้อ 2
แนวความคิด
อย่าใช้แม่แรงยกรถ เพราะมันไม่ค่อยมั่นคง ให้ใช้ที่ยกรถจะปลอดภัยกว่า แม่แรงยกรถให้ลอยขึ้น จนเราสามารถที่จะเลื่อนตัวเข้าไปใต้ท้องรถได้ เมื่อนอนราบแล้ว ให้ขับรถไปบนที่ยกรถกระทั่งล้อหน้าลอยขึ้น ตั้งเบรกฉุกเฉินและให้กั้นล้อรถด้านหลังด้วยไม้กั้นเพื่อป้องกันรถไหล ใส่เกียร์หนึ่งไว้หากเป็นเกียร์ธรรมดา และตัว P ถ้าเป็นเกียร์อัตโนมัติ น้ำมันที่เย็นจะไหลออกมายากดังนั้น ควรอุ่นเครื่องไว้ประมาณ 5-10 นาที เพื่อให้อยู่ในอุณหภูมิอย่างตอนที่ใช้ (อย่าติดเครื่องโดยไม่มีน้ำมันเครื่อง)
2.ข้อต่ออ่อนมีหน้าที่อะไร
1)เปลี่ยนความยาวของเหลาหมุน
2) เปลี่ยนมุนการหมุนของเพลา
3) ขับกำลังจากเพลากลาง
4) ทิศทางการหมุนของเพลาเปลี่นไป
เฉลย ข้อ2
แนวความคิด
ข้อต่ออ่อน (Universal joint) เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ได้รับการออกแบบและสร้างมาให้ทำหน้าที่ต่อเพลา 2 ท่อนที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกัน และสามารถส่งถ่ายกำลังขับจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่งได้ ซึ่งประกอบด้วยชิ้นส่วน 3 ชิ้น ได้แก่ กากบาท เจอนัล หรือสไปเดอร์ และก้ามปู 2 ตัว ก้ามปูทั้งสองทำมุมกัน 90 องศา ปลายก้ามปูแต่ละอันจะสวมอยู่และหมุนได้ ด้วยโครงสร้างของข้อต่ออ่อนจึงสามารถส่งกำลังและอาการหมุนจากเพลาส่งกำลังจากกระปุกเกียร์ไปยังเพลากลางเฟืองท้ายรถยนต์ได้ แม้ว่ากระปุกเกียร์จะอยู่ในระดับสูงกว่าเพลาทายก็ตาม ลักษณะการทำงานของข้อต่ออ่อนแบบธรรมดาก็คือ มันจะทำให้เพลาตามเหลาที่ถูกขับ หมุนด้วยความเร็วในรอบหนึ่งๆ ไม่คงที่ความเร็วของเพลาขับไปอย่างสม่ำเสมอ
3.. ในขณะวิ่งทางตรง เฟืองตัวใดในเฟืองไม่หมุน
1) เฟืองเดือยหมู
2) เฟืองบายศรี
3) เฟืองดอกจอก
4) เฟืองเพลาข้าง
เฉลย ข้อ 4
แนวความคิด
1) เฟืองเดือยหมู เฟืองเดือยหมู ทำหน้าที่ถ่ายทอดกำลังงานของเครื่องยนต์ไปยังเฟืองบายศรี
2) เฟืองบายศรีบายศรี ทำหน้าที่เปลี่ยนทิศทางการถ่ายทอดกำลังงานที่ถ่ายทอด จากเฟืองเดือยหมู 90 องศา เพื่อขับเพลาข้าง และลดอัตราทอเกียร์ คือ ลดความเร็วรอบ ให้เหมาะสมกับขนาดของล้อรถยนต์ โดยเฟืองบายศรีจะหมุนช้ากว่าเฟืองเดือยหมู
3) เฟืองดอกจอก เฟืองดอกจอก ทำหน้าที่ แบ่งแยกกำลังงาน ที่จะส่งไปยังเพลาข้างซ้ายและขวา เพื่อความเร็วแตกต่างกันในขณะขับรถเลี้ยวโค้ง
4) เฟืองเพลาข้างเฟืองข้าง ทำหน้าที่ขับเพลาข้างเพื่อไปหมุนล้อรถยนต์
พนักงานธุรการ สำนักงาน ป.ป.ช. 2555
เขียนโดย small ที่ 07:10
1. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฉบับปัจจุบันแก้ไข
เพิ่มเติมฉบับใด พ.ศ. ใด
ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 ข. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551
ค. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 ง. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554
2. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 15 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” หมายความถึงบุคคลใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี
ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. ถูกทุกข้อ
4. การที่ทรัพย์สินหรือหนี้สินในบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ยื่น
เมื่อพ้นจากตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นเมื่อเข้ารับ
ตำแหน่งในลักษณะที่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือหนี้สินลดลงผิดปกติ หมายความถึงข้อใด
ก. ทุจริตต่อหน้าที่ ข. ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
ค. ร่ำรวยผิดปกติ ง. ทุจริตต่อหน้าที่
5. หมวด 1 ใน พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ข. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ค. การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน
ง. การไต่สวนข้อเท็จจริง
6. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่าอะไร
ก. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ข. คณะกรรมการ ปปช.
ค. คณะกรรมการ คปช. ง. คณะกรรมการ คกช.
7. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คน
ก. ห้าคน ข. หกคน
ค. เจ็ดคน ง. แปดคน
8. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำและยินยอมของผู้ใด
ก. วุฒิสภา ข. รัฐสภา
ค. คณะรัฐมนตรี ง. นายกรัฐมนตรี
9. ประธานวุฒิสภา จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการจำนวนกี่คน
ก. สิบคน ข. สิบสองคน
ค. สิบสามคน ง. สิบห้าคน
10. ข้อใดเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการ
ก. ประธานศาลฎีกา ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด ง. ถูกทุกข้อ
11. การคัดเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น ต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใดของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสอง ข. ไม่น้อยกว่าสองในสาม
ค. ไมน้อยกว่าสองในห้า ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่
12. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการนั้น ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด
ก. สามสิบห้าปีบริบูรณ์ ข. สี่สิบปีบริบูรณ์
ค. สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ง. ห้าสิบปีบริบูรณ์
13. กรรมการมีวาระในการดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่ได้รับการแต่งตั้ง
ก. สองปี ข. สี่ปี
ค. หกปี ง. เก้าปี
14. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง
ตามข้อใด
ก. ตาย ข. มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
ค. ต้องคำพิพากษาให้จำคุก
15. เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการสรรหาภายในกี่วันนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง
ก. ภายในเจ็ดวัน ข. ภายในสิบห้าวัน
ค. ภายในสามสิบวัน ง. ภายในสี่สิบห้าวัน
เพิ่มเติมฉบับใด พ.ศ. ใด
ก. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 ข. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551
ค. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 ง. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554
2. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 15 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” หมายความถึงบุคคลใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี
ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. ถูกทุกข้อ
4. การที่ทรัพย์สินหรือหนี้สินในบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ยื่น
เมื่อพ้นจากตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นเมื่อเข้ารับ
ตำแหน่งในลักษณะที่ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือหนี้สินลดลงผิดปกติ หมายความถึงข้อใด
ก. ทุจริตต่อหน้าที่ ข. ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
ค. ร่ำรวยผิดปกติ ง. ทุจริตต่อหน้าที่
5. หมวด 1 ใน พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ข. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ค. การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน
ง. การไต่สวนข้อเท็จจริง
6. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่าอะไร
ก. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ข. คณะกรรมการ ปปช.
ค. คณะกรรมการ คปช. ง. คณะกรรมการ คกช.
7. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คน
ก. ห้าคน ข. หกคน
ค. เจ็ดคน ง. แปดคน
8. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำและยินยอมของผู้ใด
ก. วุฒิสภา ข. รัฐสภา
ค. คณะรัฐมนตรี ง. นายกรัฐมนตรี
9. ประธานวุฒิสภา จัดให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการจำนวนกี่คน
ก. สิบคน ข. สิบสองคน
ค. สิบสามคน ง. สิบห้าคน
10. ข้อใดเป็นคณะกรรมการสรรหากรรมการ
ก. ประธานศาลฎีกา ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด ง. ถูกทุกข้อ
11. การคัดเลือกบุคคลให้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตินั้น ต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใดของจำนวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสอง ข. ไม่น้อยกว่าสองในสาม
ค. ไมน้อยกว่าสองในห้า ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่
12. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการนั้น ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด
ก. สามสิบห้าปีบริบูรณ์ ข. สี่สิบปีบริบูรณ์
ค. สี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ง. ห้าสิบปีบริบูรณ์
13. กรรมการมีวาระในการดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่ได้รับการแต่งตั้ง
ก. สองปี ข. สี่ปี
ค. หกปี ง. เก้าปี
14. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่ง
ตามข้อใด
ก. ตาย ข. มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์
ค. ต้องคำพิพากษาให้จำคุก
15. เมื่อกรรมการพ้นจากตำแหน่งให้เริ่มดำเนินการสรรหาภายในกี่วันนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่ง
ก. ภายในเจ็ดวัน ข. ภายในสิบห้าวัน
ค. ภายในสามสิบวัน ง. ภายในสี่สิบห้าวัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...