JOB Ratchakarn
นักวิชาการเงินและบัญชี ระดับ3 พนักงาน อบต. เทศบาล
เขียนโดย small ที่ 07:15
1. เงินตราต่างประเทศเป็นเงินได้พึงประเมินต้องคำนวณเป็นเงินตราไทย โดยอ้างอิงคำนวณเป็นเงินตราไทย โดยอ้างอิงการคำนวณเป็นเงินตราไทยจากที่ใด
ก. ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข. ธนาคารพาณิชย์ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์
ค. ธนาคารกลางโลก
ง´ ข้อ ก. และ ข. ถูกต้อง
2. เงินตราต่างประเทศที่เป็นเงินได้พึงประเมินต้องคำนวณเป็นเงินตราไทย ใช้อัตราแลกเปลี่ยนเมื่อใด
ก. อัตราแลกเปลี่ยนในแต่ละวัน
ข. อัตราการแลกเปลี่ยนในวันถัดไป
ค. อัตราการเปลี่ยนในทุกวันจันทร์ต่อสัปดาห์ ของตลาดหลักทรัพย์
ง. อัตราการเปลี่ยนในทุกวันศุกร์สุดสัปดาห์ ของตลาดหลักทรัพย์
3. กรณีที่ใช้อัตราการแลกเปลี่ยนของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือธนาคารพาณิชย์ต้องใช้เพียงธนาคารใด ธนาคารหนึ่งเพียงธนาคารเดียว หากต้องการเปลี่ยนธนาคารที่อ้างอิงอัตราการแลกเปลี่ยนต้องอนุมัติจากผู้ใด
ก. อธิการบดีสรรพากร
ข. ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
ค. รัฐมนตรีการกระทรวงการคลัง
ง. ปลัดกระทรวงการคลัง
4. รางวัลที่ได้จากการชิงโชค เป็นเงินพึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ไม่มีการประเมินใดๆในรางวัล
ค. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ง. ทรัพย์สินหรือรางวัลได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
5. บ้านพักที่จัดให้อยู่ฟรี จัดเป็นเงินได้พึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ประโยชน์ซึ่งอาจคำคำนวณได้เป็นเงิน
ค. ทรัพย์สินหรือรางวัลได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
ง. ถูกทุกข้อ
6. ได้รับค่าตอบแทนเป็น “หุ้น” จัดเป็นเงินได้พึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ค. ค่าตอบแทน ที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
ง. ถูกทุกข้อ
7. การคำนวณเครดิตเงินปันผล เพื่อบรรเทาภาษีซ้ำซ้อนของเงินปันผลที่ส่วนหนึ่งได้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลไปแล้วคำนวณได้จาก
ก. เงินปันผล x
ข. เงินปันผล x 100
ค. เงินปันผล x
ง. เงินปันผล x
8. ผู้มีเงินได้จากส่วนแบ่งกำไรจากกองทุนรวม สามารถคำนวณเครดิตเงินปันผลได้โดยมีการคำนวณอย่างไร
ก. 30% ของเงินปันผลจากกองทุน
ข. เงินปันผล x
ค. 5% จากมูลค่าทั้งหมดของกองทุนรวม
ง. เงินได้จากกองทุนไม่มีสิทธิ์ได้รับเครดิตภาษี เนื่องจากไม่ต้องเสียภาษีอยู่แล้ว
9. แหล่งเงินได้ของผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 41พิจารณาอย่างไร
ก. เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ คือหน้าที่การงานกิจกรรม ทรัพย์สิน หรือ กิจการของนายจ้างที่เกิดขึ้น สืบเนื่องหรือเกิดในประเทศไทย
ข. เงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศ คือหน้าที่การงาน กิจการงานหรือทรัพย์สินในต่างประเทศ โดยประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ประการ คือผู้อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้นและนำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษีนั้น
ค. ถูกทั้งสองข้อ
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
10. ผู้อยู่ในประเทศ ตามประมวลรัษฎากร หมายถึงผู้ที่อยู่ในประเทศเป็นระยะเวลานานเท่าใด
ก. ผู้อยู่ในประเทศไทยชั่วระยะเวลา ไม่จำกัดระยะเวลา
ข. ผู้ที่อยู่ในประเทศไทยเวลาหนึ่งหรือ หลายเวลารวมทั้งหมดถึง 3 เดือนขึ้นไป
ค. ผู้ที่อยู่ในประเทศในเวลาหรือ หลายเวลารวมทั้งหมดถึง 180 วัน
ง. ไม่มีข้อถูก
11. นายจอห์น ชาวต่างชาติ เข้ามาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2547 และกลับออกไปโดยได้รับเงินจำนวน 50,000 บาท เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2548 นายจอร์น ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเท่าใด
ก. ไม่ต้องเสียภาษี
ข. เสียภาษี 5% ของรายได้
ค. หาข้อสรุปไม่ได้
ง. ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของนายจอห์น
12. ข้อใดไม่ใช่เป็นบุคคลที่ได้รับยกเว้นเงินได้บุคคลธรรมดา
ก. บุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่างไทยกับต่างชาติ
ข. สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล
ค. บุคคลสัญชาติอเมริกาที่ปฏิบัติงานในนิติบุคคลตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา และไทยให้ความยินยอม
ง. บุคคลในธนาคารต่างประเทศที่มีสำนักงานอยู่ในประเทศไทย
13. ข้อใด มิใช่เงินได้ที่รับยกเว้นภาษีบุคคลธรรมดา
ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะที่จ่ายไปโดยสุจริต เนื่องในงานของตน
ข. เงินปันผลจากกิจการส่งเสริมการลงทุน
ค. เงินที่ได้จากการขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือมิได้มุ่งในการค้าหรือหากำไร
ง. เงินจากการถูกล๊อตตารี่ รางวัลที่ 1
14. ข้อใด มิใช่แหล่งเงินได้ในประเทศไทย
ก. แสดงทำงานต่างประเทศและถูกเงินกลับให้ภรรยา
ข. ภรรยาของแดง ทำงานเป็นแม่บ้านของบริษัทในประเทศไทย
ค. แม่ของแดง มีกิจการร้านอาหารในประเทศไทย
ง. แดงมีทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย
15. นายหม่ำ เป็นพนักงานบริษัทประเทศไทย ได้เดินทางไปใช้ชีวิตในอังกฤษ บริษัทได้จ่ายเงินเดือนในปีภาษี 2548 โดยโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารหม่ำที่ประเทศอังกฤษ นายบอยต้องชำระภาษีหรือไม่ เพราะอะไร
ก. ต้องชำระในปี 2548 เพราะเงินได้เกิดจากหน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
ข. ต้องชำระภาษีในปี 2548 เพียงบางส่วนเท่านั้น โดยคำนวณจากวันที่ทำงานใน ประเทศไทย
ค. ไม่ต้องชำระภาษีใด ในประเทศ เพราะไปทำงานต่างประเทศ
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
16. หากนายหม่ำ เป็นคนสัญชาติอังกฤษ แต่เป็นพนักงานบริษัทในประเทศไทย และได้เดินทางไปใช้ชีวิตในอังกฤษ บริษัทได้จ่ายเงินเดือนในปีภาษี 2548 โดยโอนเข้าบัญชีธนาคาร นายหม่ำที่ประเทศอังกฤษ นายหม่าต้องชำระภาษีหรือไม่ เพราะเหตุใด
ก. จะเสียภาษีก็ได้หรือไม่เสียก็ได้ ได้รับการยกเว้น
ข. ต้องชำรพภาษีในปี 2548 เพราะเงินได้เกิดจากหน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
ค. ไม่ต้องชำระภาษีใดๆ ในประเทศ เพราะเป็นชาวต่างประเทศ
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
17. แหล่งเงินได้นอกประเทศไทย จะถือเป็นเงินได้พึงประเมินที่ต้องชำระภาษี กรณีใดบ้าง
ก. หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ
ข. กิจการที่ทำในต่างประเทศ
ค. ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
18. กรณีเงินได้ที่เกิดจาก “หน้าที่งานที่ทำต่างประเทศ” “กิจการที่ทำในต่างประเทศ” หรือ “ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ” จะต้องเสียภาษีต้องมีองค์ประกอบใดด้วย
ก. เป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้นรวมกัน 180วัน
ข. เงินได้เข้าประเทศในปีภาษีนั้น
ค. ถูกทั้งสองข้อ
ง. ผิดทั้งสองข้อ
19. นายสมบัติ มีกิจการอยู่ในต่างประเทศ แต่อยู่ในประเทศไทย เดือนเว้นเดือน มีระยะเวลาไม่ต่อเนื่องในปี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศไทยในปีภาษี 2548 เป็นเงิน 20 ล้านบาท ต้องเสียภาษีในประเทศหรือไม่
ก. ต้องเสียภาษี
ข. ไม่ต้องเสียภาษี
ค. ไม่ชัดเจน
ง. ไม่มีข้อถูก
20. นายสมบัติ มีกิจการอยู่ในต่างประเทศ แต่อยู่ในประเทศไทย เดือนเว้นเดือน มีระยะเวลาไม่ต่อเนื่องในปี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษี 2549 เป็นเงิน 20 ล้านบาท หากปี พ.ศ. 2549 นายสมบัติกลับเข้ามาประเทศไทย 1 ธันวาคม 2549 – 31 ธันวาคม 2549 จะต้องเสียภาษีหรือไม่ และต้องเสียภาษีในปีภาษีใด
ก. ต้องเสียภาษีเฉพาะในปีงบประมาณ 2548
ข. ต้องเสียภาษีเฉพาะในปีงบประมาณ 2549
ค. ต้องเสียภาษีในปีงบประมาณ 2548 และปีงบประมาณ 2549
ง. ไม่ต้องเสียภาษี
ก. ธนาคารแห่งประเทศไทย
ข. ธนาคารพาณิชย์ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์
ค. ธนาคารกลางโลก
ง´ ข้อ ก. และ ข. ถูกต้อง
2. เงินตราต่างประเทศที่เป็นเงินได้พึงประเมินต้องคำนวณเป็นเงินตราไทย ใช้อัตราแลกเปลี่ยนเมื่อใด
ก. อัตราแลกเปลี่ยนในแต่ละวัน
ข. อัตราการแลกเปลี่ยนในวันถัดไป
ค. อัตราการเปลี่ยนในทุกวันจันทร์ต่อสัปดาห์ ของตลาดหลักทรัพย์
ง. อัตราการเปลี่ยนในทุกวันศุกร์สุดสัปดาห์ ของตลาดหลักทรัพย์
3. กรณีที่ใช้อัตราการแลกเปลี่ยนของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือธนาคารพาณิชย์ต้องใช้เพียงธนาคารใด ธนาคารหนึ่งเพียงธนาคารเดียว หากต้องการเปลี่ยนธนาคารที่อ้างอิงอัตราการแลกเปลี่ยนต้องอนุมัติจากผู้ใด
ก. อธิการบดีสรรพากร
ข. ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
ค. รัฐมนตรีการกระทรวงการคลัง
ง. ปลัดกระทรวงการคลัง
4. รางวัลที่ได้จากการชิงโชค เป็นเงินพึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ไม่มีการประเมินใดๆในรางวัล
ค. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ง. ทรัพย์สินหรือรางวัลได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
5. บ้านพักที่จัดให้อยู่ฟรี จัดเป็นเงินได้พึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ประโยชน์ซึ่งอาจคำคำนวณได้เป็นเงิน
ค. ทรัพย์สินหรือรางวัลได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
ง. ถูกทุกข้อ
6. ได้รับค่าตอบแทนเป็น “หุ้น” จัดเป็นเงินได้พึงประเมินรูปแบบใด
ก. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณเป็นเงินได้
ข. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน
ค. ค่าตอบแทน ที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี
ง. ถูกทุกข้อ
7. การคำนวณเครดิตเงินปันผล เพื่อบรรเทาภาษีซ้ำซ้อนของเงินปันผลที่ส่วนหนึ่งได้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลไปแล้วคำนวณได้จาก
ก. เงินปันผล x
ข. เงินปันผล x 100
ค. เงินปันผล x
ง. เงินปันผล x
8. ผู้มีเงินได้จากส่วนแบ่งกำไรจากกองทุนรวม สามารถคำนวณเครดิตเงินปันผลได้โดยมีการคำนวณอย่างไร
ก. 30% ของเงินปันผลจากกองทุน
ข. เงินปันผล x
ค. 5% จากมูลค่าทั้งหมดของกองทุนรวม
ง. เงินได้จากกองทุนไม่มีสิทธิ์ได้รับเครดิตภาษี เนื่องจากไม่ต้องเสียภาษีอยู่แล้ว
9. แหล่งเงินได้ของผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 41พิจารณาอย่างไร
ก. เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ คือหน้าที่การงานกิจกรรม ทรัพย์สิน หรือ กิจการของนายจ้างที่เกิดขึ้น สืบเนื่องหรือเกิดในประเทศไทย
ข. เงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศ คือหน้าที่การงาน กิจการงานหรือทรัพย์สินในต่างประเทศ โดยประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ประการ คือผู้อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้นและนำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษีนั้น
ค. ถูกทั้งสองข้อ
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
10. ผู้อยู่ในประเทศ ตามประมวลรัษฎากร หมายถึงผู้ที่อยู่ในประเทศเป็นระยะเวลานานเท่าใด
ก. ผู้อยู่ในประเทศไทยชั่วระยะเวลา ไม่จำกัดระยะเวลา
ข. ผู้ที่อยู่ในประเทศไทยเวลาหนึ่งหรือ หลายเวลารวมทั้งหมดถึง 3 เดือนขึ้นไป
ค. ผู้ที่อยู่ในประเทศในเวลาหรือ หลายเวลารวมทั้งหมดถึง 180 วัน
ง. ไม่มีข้อถูก
11. นายจอห์น ชาวต่างชาติ เข้ามาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2547 และกลับออกไปโดยได้รับเงินจำนวน 50,000 บาท เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2548 นายจอร์น ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเท่าใด
ก. ไม่ต้องเสียภาษี
ข. เสียภาษี 5% ของรายได้
ค. หาข้อสรุปไม่ได้
ง. ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของนายจอห์น
12. ข้อใดไม่ใช่เป็นบุคคลที่ได้รับยกเว้นเงินได้บุคคลธรรมดา
ก. บุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่างไทยกับต่างชาติ
ข. สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล
ค. บุคคลสัญชาติอเมริกาที่ปฏิบัติงานในนิติบุคคลตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา และไทยให้ความยินยอม
ง. บุคคลในธนาคารต่างประเทศที่มีสำนักงานอยู่ในประเทศไทย
13. ข้อใด มิใช่เงินได้ที่รับยกเว้นภาษีบุคคลธรรมดา
ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะที่จ่ายไปโดยสุจริต เนื่องในงานของตน
ข. เงินปันผลจากกิจการส่งเสริมการลงทุน
ค. เงินที่ได้จากการขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือมิได้มุ่งในการค้าหรือหากำไร
ง. เงินจากการถูกล๊อตตารี่ รางวัลที่ 1
14. ข้อใด มิใช่แหล่งเงินได้ในประเทศไทย
ก. แสดงทำงานต่างประเทศและถูกเงินกลับให้ภรรยา
ข. ภรรยาของแดง ทำงานเป็นแม่บ้านของบริษัทในประเทศไทย
ค. แม่ของแดง มีกิจการร้านอาหารในประเทศไทย
ง. แดงมีทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย
15. นายหม่ำ เป็นพนักงานบริษัทประเทศไทย ได้เดินทางไปใช้ชีวิตในอังกฤษ บริษัทได้จ่ายเงินเดือนในปีภาษี 2548 โดยโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารหม่ำที่ประเทศอังกฤษ นายบอยต้องชำระภาษีหรือไม่ เพราะอะไร
ก. ต้องชำระในปี 2548 เพราะเงินได้เกิดจากหน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
ข. ต้องชำระภาษีในปี 2548 เพียงบางส่วนเท่านั้น โดยคำนวณจากวันที่ทำงานใน ประเทศไทย
ค. ไม่ต้องชำระภาษีใด ในประเทศ เพราะไปทำงานต่างประเทศ
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
16. หากนายหม่ำ เป็นคนสัญชาติอังกฤษ แต่เป็นพนักงานบริษัทในประเทศไทย และได้เดินทางไปใช้ชีวิตในอังกฤษ บริษัทได้จ่ายเงินเดือนในปีภาษี 2548 โดยโอนเข้าบัญชีธนาคาร นายหม่ำที่ประเทศอังกฤษ นายหม่าต้องชำระภาษีหรือไม่ เพราะเหตุใด
ก. จะเสียภาษีก็ได้หรือไม่เสียก็ได้ ได้รับการยกเว้น
ข. ต้องชำรพภาษีในปี 2548 เพราะเงินได้เกิดจากหน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
ค. ไม่ต้องชำระภาษีใดๆ ในประเทศ เพราะเป็นชาวต่างประเทศ
ง. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
17. แหล่งเงินได้นอกประเทศไทย จะถือเป็นเงินได้พึงประเมินที่ต้องชำระภาษี กรณีใดบ้าง
ก. หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ
ข. กิจการที่ทำในต่างประเทศ
ค. ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
18. กรณีเงินได้ที่เกิดจาก “หน้าที่งานที่ทำต่างประเทศ” “กิจการที่ทำในต่างประเทศ” หรือ “ทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ” จะต้องเสียภาษีต้องมีองค์ประกอบใดด้วย
ก. เป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทยในปีภาษีนั้นรวมกัน 180วัน
ข. เงินได้เข้าประเทศในปีภาษีนั้น
ค. ถูกทั้งสองข้อ
ง. ผิดทั้งสองข้อ
19. นายสมบัติ มีกิจการอยู่ในต่างประเทศ แต่อยู่ในประเทศไทย เดือนเว้นเดือน มีระยะเวลาไม่ต่อเนื่องในปี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศไทยในปีภาษี 2548 เป็นเงิน 20 ล้านบาท ต้องเสียภาษีในประเทศหรือไม่
ก. ต้องเสียภาษี
ข. ไม่ต้องเสียภาษี
ค. ไม่ชัดเจน
ง. ไม่มีข้อถูก
20. นายสมบัติ มีกิจการอยู่ในต่างประเทศ แต่อยู่ในประเทศไทย เดือนเว้นเดือน มีระยะเวลาไม่ต่อเนื่องในปี 2548 นำเงินได้เข้ามาในประเทศในปีภาษี 2549 เป็นเงิน 20 ล้านบาท หากปี พ.ศ. 2549 นายสมบัติกลับเข้ามาประเทศไทย 1 ธันวาคม 2549 – 31 ธันวาคม 2549 จะต้องเสียภาษีหรือไม่ และต้องเสียภาษีในปีภาษีใด
ก. ต้องเสียภาษีเฉพาะในปีงบประมาณ 2548
ข. ต้องเสียภาษีเฉพาะในปีงบประมาณ 2549
ค. ต้องเสียภาษีในปีงบประมาณ 2548 และปีงบประมาณ 2549
ง. ไม่ต้องเสียภาษี
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น