JOB Ratchakarn
กฏหมายน่ารู้เกี่ยวกับอาวุธ
เขียนโดย small ที่ 23:31
๑. ความหมายของอาวุธปืน อาวุธปืน หมายถึงเครื่องมือที่ใช้ยิง ไปทำอันตรายร่างกายถึงสาหัสได้ ปีนที่ไม่อาจทำอันตรายร่างกายถึงสาหัส
ได้โดยสภาพ เช่น ปืนเด็กเล่น ไม่ใช่อาวุธปืนตามความหมายของกฎหมาย ตามกฎหมายเรียกว่า "สิ่งเทียมอาวุธปืน" ปืนที่ใช้ยิงไม่ได้ เช่น
ชำรุด ถือเป็น ส่วนหนึ่งของอาวุธปืน แต่พลุ สะดุดส่องแสง แบบเอ็ม ๔๙ Al ไม่มีสภาพเป็นเครื่องกระสุนปืน และไม่มี สภาพเป็นอาวุธ แต่ ถ้ามีไว้โดยไม่ได้รับอนุญาตก็มีความผิดเช่นกัน ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาวุธปืนตามกฎหมายให้ถือเป็นอาวุธปืนด้วย เช่น
๑) ลำกล้อง
๒) เครื่องลูกเลื่อน หรือส่วนประกอบสำคัญของเครื่องลูกเลื่อน
๓) เครื่องลั่นไก หรือส่วนประกอบสำคัญของเครื่องลั่นไก
๔) เครื่องส่งกระสุน ซองกระสุน หรือส่วนประกอบสำคัญของ สิ่งเหล่านี้ แต่พานท้ายปืน สายสะพาย ไม้ประดับด้ามปืน ไม่ใช่อาวุธปืน
ได้โดยสภาพ เช่น ปืนเด็กเล่น ไม่ใช่อาวุธปืนตามความหมายของกฎหมาย ตามกฎหมายเรียกว่า "สิ่งเทียมอาวุธปืน" ปืนที่ใช้ยิงไม่ได้ เช่น
ชำรุด ถือเป็น ส่วนหนึ่งของอาวุธปืน แต่พลุ สะดุดส่องแสง แบบเอ็ม ๔๙ Al ไม่มีสภาพเป็นเครื่องกระสุนปืน และไม่มี สภาพเป็นอาวุธ แต่ ถ้ามีไว้โดยไม่ได้รับอนุญาตก็มีความผิดเช่นกัน ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาวุธปืนตามกฎหมายให้ถือเป็นอาวุธปืนด้วย เช่น
๑) ลำกล้อง
๒) เครื่องลูกเลื่อน หรือส่วนประกอบสำคัญของเครื่องลูกเลื่อน
๓) เครื่องลั่นไก หรือส่วนประกอบสำคัญของเครื่องลั่นไก
๔) เครื่องส่งกระสุน ซองกระสุน หรือส่วนประกอบสำคัญของ สิ่งเหล่านี้ แต่พานท้ายปืน สายสะพาย ไม้ประดับด้ามปืน ไม่ใช่อาวุธปืน
๒. การขออนุญาต ประชาชนจะมีและใช้อาวุธปืนต้องขออนุญาตต่อนายทะเบียน สำหรับ คนที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ ยื่นคำร้องขอที่กอง
ทะเบียน สำนักงานตำรวจ แห่งชาติ สำหรับคนที่มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัดให้ยื่นคำร้องขอต่อนายอำเภอท้องที่ การขออนุญาตมีและใช้
อาวุธปืนต้องขอเพื่อ
- ป้องกันตัวหรือทรัพย์สินของตน
- สำหรับใช้ในการกีฬาหรือล่าสัตว์
ทะเบียน สำนักงานตำรวจ แห่งชาติ สำหรับคนที่มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัดให้ยื่นคำร้องขอต่อนายอำเภอท้องที่ การขออนุญาตมีและใช้
อาวุธปืนต้องขอเพื่อ
- ป้องกันตัวหรือทรัพย์สินของตน
- สำหรับใช้ในการกีฬาหรือล่าสัตว์
๓. ความผิดเกี่ยวกับอาวุธปืน การกระทำผิดเกี่ยวกับอาวุธปืนเหล่านี้ ได้แก่
๑) ทำ โดยมิได้รับอนุญาต
๒) ซื้อ โดยมิได้รับอนุญาต
๓) มี โดยมิได้รับอนุญาต
๔) ใช้ โดยมิได้รับอนุญาต
๕) สั่ง เข้ามาจากนอกราชอาณาจักรโดยมิได้รับอนุญาต
๖) นำ เข้ามาจากนอกราชอาณาจักรโดยมิได้รับอนุญาต
๑) ทำ โดยมิได้รับอนุญาต
๒) ซื้อ โดยมิได้รับอนุญาต
๓) มี โดยมิได้รับอนุญาต
๔) ใช้ โดยมิได้รับอนุญาต
๕) สั่ง เข้ามาจากนอกราชอาณาจักรโดยมิได้รับอนุญาต
๖) นำ เข้ามาจากนอกราชอาณาจักรโดยมิได้รับอนุญาต
ความผิดทั้ง ๖ ประการ ถ้าเป็นเพียง เกี่ยวกับ ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาวุธปืน หรือ "มีกระสุนปืน" ก็ถือว่ามีความผิดเช่นเดียวกัน ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืน แต่ครอบครองอาวุธปืนที่เป็นของผู้อื่นซึ่ง ได้รับอนุญาตให้มีและใช้ตามกฎหมายก็มีความผิดเช่นกัน คำว่า "มีอาวุธปืน" หมายถึง มีกรรมสิทธิ์หรือมีไว้ในครอบครอง "มีกรรมสิทธิ์" หมายถึง เป็นเจ้าของอาวุธปืน มีไว้ในครอบครอง หมายถึง ยึดถืออาวุธปืนโดยมีเจตนายึดถือเพื่อตน "ยึดถือ" หมายถึง กิริยาที่รับ ถือ หรือเอามารักษาไว้ "ยึดถือเพื่อตน" หมายถึง กิริยาที่จับ ถือ หรือเอาอาวุธปืนมารักษาไว้ในลักษณะที่แสดงอาการหวง การยึดถือเพื่อตนนี้ไม่จำเป็นต้องเป็นการยึดถือไว้โดยเป็นเจ้าของเสมอไป การรับฝากปืนจากผู้อื่นในระยะเวลาอันสั้น หรือการเอาปืนของผู้อื่น มาถือไว้ชั่วขณะ ไม่ถือว่ามีอาวุธปืนไว้ในครอบครอง
๔. การครอบครองปืนของผู้อื่น การครอบครองปืนของผู้อื่นที่ไม่ผิดกฎหมายมี ๓ กรณี คือ
๑) ผู้ครอบครองอาวุธปืนที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้อื่น เท่าที่จำเป็นเพื่อรักษาอาวุธนั้นมิให้สูญหาย และผู้ครอบครองนั้นจะต้องมีคุณสมบัติ
ที่จะมี และใช้อาวุธปืนได้ เช่น - บิดานายดำ เป็นผู้ได้รับอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืน ต่อมา บิดานายดำตาย นายดำจึงครอบครองอาวุธ
ปืนนั้น เพื่อรอแจ้งการตายภาย ในกำหนด ๓๐ วันนับแต่วันที่ทราบการตาย และขอรับมรดกของบิดา ดังนี้ นายดำไม่มีความผิด - นาย ก
เป็นผู้รับอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืน ต่อมานาย ก วิกลจริต นาง ข ภริยาของ นาย ก จึงครอบครองอาวุธปืนของนาย ก เพื่อ รอส่งมอบ
อาวุธปืนและใบอนุญาตแก่นายทะเบียน นางข ไม่มีความผิด - เก็บอาวุธปืนมีทะเบียนได้ตั้งใจว่าจะนำไปมอบให้นาย ทะเบียน ก็ถูกจับ
ก่อน ดังนี้ไม่มีความผิด แต่ถ้าผู้เก็บอายุแค่ ๑๕ ปี (ยังมี อาวุธปืนไม่ได้) หรือปืนที่เก็บได้เป็นปืนเถื่อน ดังนี้ถ้าผู้เก็บได้เอามาใช้ก็มีความ
ผิดด้วย
๒) ครอบครองอาวุธปืนของราชการทหาร และตำรวจ และของ หน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจ
๓) ครอบครองอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนประจำเรือเดินทะเล รถไฟ และอากาศยานตามปกติ ซึ่งได้แสดงและให้พนักงานศุลกากรตรวจ
สอบตามกฎหมายแล้ว หมายเหตุ ควรสังเกตว่ากฎหมายยกเว้นให้แต่อาวุธปืนของทางราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ มิได้ยกเว้นแก่ตัว
ราชการ หรือพนักงาน รัฐวิสาหกิจ
๑) ผู้ครอบครองอาวุธปืนที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้อื่น เท่าที่จำเป็นเพื่อรักษาอาวุธนั้นมิให้สูญหาย และผู้ครอบครองนั้นจะต้องมีคุณสมบัติ
ที่จะมี และใช้อาวุธปืนได้ เช่น - บิดานายดำ เป็นผู้ได้รับอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืน ต่อมา บิดานายดำตาย นายดำจึงครอบครองอาวุธ
ปืนนั้น เพื่อรอแจ้งการตายภาย ในกำหนด ๓๐ วันนับแต่วันที่ทราบการตาย และขอรับมรดกของบิดา ดังนี้ นายดำไม่มีความผิด - นาย ก
เป็นผู้รับอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืน ต่อมานาย ก วิกลจริต นาง ข ภริยาของ นาย ก จึงครอบครองอาวุธปืนของนาย ก เพื่อ รอส่งมอบ
อาวุธปืนและใบอนุญาตแก่นายทะเบียน นางข ไม่มีความผิด - เก็บอาวุธปืนมีทะเบียนได้ตั้งใจว่าจะนำไปมอบให้นาย ทะเบียน ก็ถูกจับ
ก่อน ดังนี้ไม่มีความผิด แต่ถ้าผู้เก็บอายุแค่ ๑๕ ปี (ยังมี อาวุธปืนไม่ได้) หรือปืนที่เก็บได้เป็นปืนเถื่อน ดังนี้ถ้าผู้เก็บได้เอามาใช้ก็มีความ
ผิดด้วย
๒) ครอบครองอาวุธปืนของราชการทหาร และตำรวจ และของ หน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจ
๓) ครอบครองอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนประจำเรือเดินทะเล รถไฟ และอากาศยานตามปกติ ซึ่งได้แสดงและให้พนักงานศุลกากรตรวจ
สอบตามกฎหมายแล้ว หมายเหตุ ควรสังเกตว่ากฎหมายยกเว้นให้แต่อาวุธปืนของทางราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ มิได้ยกเว้นแก่ตัว
ราชการ หรือพนักงาน รัฐวิสาหกิจ
๕. การพกพาอาวุธปืน กฎหมายห้ามมิให้บุคคลพกพา อาวุธปืนติดตัวไปในเมือง หมู่บ้าน หรือทางสาธารณะโดยไม่ได้รับใบอนุญาตให้มี
อาวุธปืนติดตัว เว้นแต่เป็น กรณีมีติดตัวเมื่อมีเหตุจำเป็นและเร่งด่วนตามสมควรแก่พฤติการณ์ เชนถือ ปืนติดตามคนร้าย หรือไฟไหม้บ้าน
ต้องขนของและปืนหนีออกจากบ้าน หรือ ต้องพกปืนเพื่อป้องกันตัว เพราะนำเงินจำนวนมากติดตัวไปต่างจังหวัด เป็นต้น แต่มีขอสังเกตว่า
ไม่ว่าในกรณีใดกฎหมายห้ามเด็ดขาด มิให้พาอาวุธปืนไปโดยเปิดเผย หรือพาไปในชุมชนที่ได้จัดให้มีขึ้นเพื่อนมัสการ การรื่นเริง การ
มหรสพหรือการอื่นใด หมายความว่าถึงแม้จะมีใบอนุญาตให้มีอาวุธปืน ติดตัวก็ตาม ก็ไม่สามารถพกพาอาวุธปืนโดยเป”ดเผย หรือพาไปใน
ชุมนุมชน ที่จัดให้มีขึ้น เพื่อการดังกล่าว แต่กฎหมายไม่ห้ามสำหรับเจ้าพนักงานผู้มี หน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ทหาร
และตำรวจซึ่งอยู่ในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ หรือประชาชนผู้ได้รับมอบหมายให้มีหรือใช้อาวุธปืน ซึ่งอยู่ในระหว่างการช่วยเหลือ ราชการ
และมีเหตุจำเป็นต้องมีและใช้อาวุธปืน ในการนั้น สำหรับผู้มีอำนาจออกใบอนุญาตให้พกพาในกรุงเทพฯ คือ อธิบดีกรมตำรวจ ในต่าง
จังหวัดคือ ผู้ว่าราชการจังหวัด
อาวุธปืนติดตัว เว้นแต่เป็น กรณีมีติดตัวเมื่อมีเหตุจำเป็นและเร่งด่วนตามสมควรแก่พฤติการณ์ เชนถือ ปืนติดตามคนร้าย หรือไฟไหม้บ้าน
ต้องขนของและปืนหนีออกจากบ้าน หรือ ต้องพกปืนเพื่อป้องกันตัว เพราะนำเงินจำนวนมากติดตัวไปต่างจังหวัด เป็นต้น แต่มีขอสังเกตว่า
ไม่ว่าในกรณีใดกฎหมายห้ามเด็ดขาด มิให้พาอาวุธปืนไปโดยเปิดเผย หรือพาไปในชุมชนที่ได้จัดให้มีขึ้นเพื่อนมัสการ การรื่นเริง การ
มหรสพหรือการอื่นใด หมายความว่าถึงแม้จะมีใบอนุญาตให้มีอาวุธปืน ติดตัวก็ตาม ก็ไม่สามารถพกพาอาวุธปืนโดยเป”ดเผย หรือพาไปใน
ชุมนุมชน ที่จัดให้มีขึ้น เพื่อการดังกล่าว แต่กฎหมายไม่ห้ามสำหรับเจ้าพนักงานผู้มี หน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ทหาร
และตำรวจซึ่งอยู่ในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ หรือประชาชนผู้ได้รับมอบหมายให้มีหรือใช้อาวุธปืน ซึ่งอยู่ในระหว่างการช่วยเหลือ ราชการ
และมีเหตุจำเป็นต้องมีและใช้อาวุธปืน ในการนั้น สำหรับผู้มีอำนาจออกใบอนุญาตให้พกพาในกรุงเทพฯ คือ อธิบดีกรมตำรวจ ในต่าง
จังหวัดคือ ผู้ว่าราชการจังหวัด
๖. การมีอาวุธปืนเพื่อเก็บ ผู้ใดประสงค์จะมีอาวุธปืนไว้เพื่อเก็บก็ต้องขออนุญาตด้วย การเก็บใน ที่นี้หมายถึงการมีไว้โดยไม่ใช้อาวุธปืนนั้น
เช่น การเก็บไว้เป็นที่ระลึก เป็นต้น การมีอาวุธปืนเพื่อเก็บ "การเก็บ" ในที่นี้หมายถึง การมีไว้โดยไม่ใช้อาวุธปืนนั้น เช่น การ เก็บไว้เป็นที่
ระลึก เป็นต้น ซึ่งผู้ใดที่ต้องการจะมีอาวุธปืนไว้เพื่อเก็บก็จำเป็น จะต้องขออนุญาตจากทางราชการด้วย โดยผู้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ
ให้ไปขอใบอนุญาตมีอาวุธปืนไว้เพื่อเก็บ ณ กองทะเบียน กรมตำรวจ ส่วน คนที่มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัดให้ยื่นขอใบอนุญาตต่อนาย
ทะเบียนท้องที่ ใบอนุญาตให้มีอาวุธปืนไว้เพื่อเก็บ จะออกให้แก่อาวุธปืนดังต่อไปนี้เท่านั้น คือ
๑) อาวุธปืนที่นายทะเบียนเห็นว่าชำรุดจนใช้ยิงไม่ได้
๒) อาวุธปืนแบบพ้นสมัย เช่น ปืนที่ใช้ในสมัยโบราณ, ปืนที่เป็นของเก่าแก่
๓) อาวุธปืนที่เป็นรางวัลจากการแข่งขันยิงปืนในทางราชการเพราะฉะนั้นถ้าเป็นอาวุธปืนประเภทอื่น ๆนอกเหนือจากที่กล่าวมานี้ย่อมไม่ได้รับ
ใบอนุญาตให้มีไว้เพื่อเก็บนอกจากนี้แล้วกฎหมายยังมีข้อห้าม เกี่ยวกับอาวุธปืนที่มีไว้เพื่อเก็บอีกด้วย คือ
๑) ห้ามมิให้ยิงอาวุธปืนนั้น
๒) ห้ามมิให้มีเครื่องกระสุนที่จะใช้สำหรับอาวุธปืนที่จะมีไว้เพื่อเก็บ หมายเหตุ ผู้ใดที่มีอาวุธไว้เพื่อเก็บโดยมิได้รับอนุญาต ถือว่ามีความผิด
ต้อง ได้รับโทษตามกฎหมาย
เช่น การเก็บไว้เป็นที่ระลึก เป็นต้น การมีอาวุธปืนเพื่อเก็บ "การเก็บ" ในที่นี้หมายถึง การมีไว้โดยไม่ใช้อาวุธปืนนั้น เช่น การ เก็บไว้เป็นที่
ระลึก เป็นต้น ซึ่งผู้ใดที่ต้องการจะมีอาวุธปืนไว้เพื่อเก็บก็จำเป็น จะต้องขออนุญาตจากทางราชการด้วย โดยผู้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ
ให้ไปขอใบอนุญาตมีอาวุธปืนไว้เพื่อเก็บ ณ กองทะเบียน กรมตำรวจ ส่วน คนที่มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัดให้ยื่นขอใบอนุญาตต่อนาย
ทะเบียนท้องที่ ใบอนุญาตให้มีอาวุธปืนไว้เพื่อเก็บ จะออกให้แก่อาวุธปืนดังต่อไปนี้เท่านั้น คือ
๑) อาวุธปืนที่นายทะเบียนเห็นว่าชำรุดจนใช้ยิงไม่ได้
๒) อาวุธปืนแบบพ้นสมัย เช่น ปืนที่ใช้ในสมัยโบราณ, ปืนที่เป็นของเก่าแก่
๓) อาวุธปืนที่เป็นรางวัลจากการแข่งขันยิงปืนในทางราชการเพราะฉะนั้นถ้าเป็นอาวุธปืนประเภทอื่น ๆนอกเหนือจากที่กล่าวมานี้ย่อมไม่ได้รับ
ใบอนุญาตให้มีไว้เพื่อเก็บนอกจากนี้แล้วกฎหมายยังมีข้อห้าม เกี่ยวกับอาวุธปืนที่มีไว้เพื่อเก็บอีกด้วย คือ
๑) ห้ามมิให้ยิงอาวุธปืนนั้น
๒) ห้ามมิให้มีเครื่องกระสุนที่จะใช้สำหรับอาวุธปืนที่จะมีไว้เพื่อเก็บ หมายเหตุ ผู้ใดที่มีอาวุธไว้เพื่อเก็บโดยมิได้รับอนุญาต ถือว่ามีความผิด
ต้อง ได้รับโทษตามกฎหมาย
๗. การขออนุญาต การที่ประชาชนจะมีหรือใช้อาวุธปืนได้โดยถูกกฎหมายนั้นจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตจากทางราชการก่อน ซึ่งเมื่อทาง
ราชการอนุญาตแล้ว ก็จะได้ออกใบอนุญาตให้ไป ใบอนุญาตที่เกี่ยวกับอาวุธปืนที่สำคัญ ได้แก่
๑) ใบอนุญาตให้ซื้ออาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนส่วนบุคคล (แบบ ป.๓)
๒) ใบอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนส่วนบุคคล (แบบ ป.๔)มี ๒ ประเภทด้วยกัน ได้แก่
๒.๑ใบอนุญาตแบบชั่วคราว มีอายุ ๖ เดือนนับแต่วันที่ออก ใบอนุญาตนั้น
๒.๒ ใบอนุญาตแบบถาวร ใช้ได้ตลอดเวลาที่ผู้ได้รับใบอนุญาต ยังเป็นเจ้าของอาวุธปืนนั้นอยู่ สถานที่ในการขออนุญาต สำหรับผู้ที่มีภูมิ
ลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ ให้ยื่นขออนุญาตต่อนายทะเบียนณ กองทะเบียน กรมตำรวจ ส่วนผี่มี ภูมิลำเนาอยู่ที่ต่างจังหวัดให้ยื่นคำร้องขอต่อ
นายอำเภอท้องที่ เมื่อได้ยื่นคำร้องขอใบอนุญาตต่อทางราชการแล้ว นายทะเบียนก็จะ พิจารณาว่าควรจะออกใบอนุญาตให้ผู้ขอหรือไม่ ซึ่งมีข้อสังเกตที่สำคัญ ๆ ดังนี้
๓) ในการออกใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืนนั้น จะออกให้ได้ใน ๓ กรณีเท่านั้น คือ
๓.๑ เพื่อใช้ในการป้องกันตนเองและทรัพย์สิน
๓.๒ เพื่อใช้ในการเล่นกีฬา
๓.๓ เพื่อใช้ในการยิงล่าสัตว์ ถ้าไม่เข้ากรณีใดกรณีหนึ่งในสามกรณีนี้ทางราชการมักจะไม่ ออกใบอนุญาตให้
๔) ใบอนุญาตหนึ่งใบจะออกให้สำหรับอาวุธปืนหนึ่งกระบอกเท่านั้น
๕) ทางราชการจะไม่ออกใบอนุญาตให้มีหรือใช้ ให้แก่อาวุธที่เป็น อาวุธสงคราม
๖) ผู้ที่จะขอใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืนได้นั้นจะต้องเป็นบุคคล ที่ไม่มีคุณ สมบัติต้องห้ามตามกฎหมาย อาทิเช่น บุคคลผู้ที่ยังไม่บรรลุ
นิติภาวะ(อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์) บุคคลที่เป็นคนไร้ความสามารถหรือ เสมือนไร้ความสามารถ (คนวิกลจริต.คนจิตฟั่นเฟือน), บุคคลที่
ไม่มีอาชีพ และรายได้ คนจรจัด บุคคลผู้ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งนอกจากนี้ทางราชการจะไม่ออกใบอนุญาตให้แก่บุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ใน
ทะเบียนบ้านในท้องที่ที่บุคคลนั้น ขออนุญาตน้อยกว่าหกเดือน - ขั้นตอนในการออกใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืน ในขั้นแรกนายทะเบียน
จะออกใบอนุญาตให้ซื้ออาวุธ (แบบ ป.๓) และใบอนุญาต ให้มีหรือใช้อาวุธปืนแบบชั่วคราว (แบบ ป.๔ ชั่วคราว) ให้ก่อน ทั้งนี้ เพื่อ ที่จะได้
ให้ผู้ขออนุญาตไปจัดการหาซื้ออาวุธปืน และเครื่องกระสุนปืนมาให้ พร้อมเสียก่อนโดยไม่ผิดกฎหมาย จากนั้นให้ผู้ขออนุญาตนำอาวุธปืนดัง
กล่าว ไปให้นายทะเบียนตรวจสอบว่าอาวุธปืนและเครื่องกระสุนที่จัดหามานั้น มีชนิดและขนาดตรงตามที่ระบุไว้ในแบบ ป.๓ และ ป.๔ ชั่ว
คราวหรือไม่ ถ้า ตรง นายทะเบียนก็จะออกใบอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืนอย่างถาวร (แบบ ป.๔ ถาวร) ต่อไป แต่ทั้งนี้จะต้องนำเอาอาวุธ
ปืนไปให้นายทะเบียนตรวจสอบ ภายในกำหนด ๖ เดือนนับแต่วันที่ ได้ออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ ถ้าเกินกำหนด ๖ เดือนดังกล่าวไป ต้อง
ถือว่าผู้ขออนุญาตนั้นมีอาวุธปืน และเครื่องกระสุนปืนไว้ในความครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต หมายเหตุ กรณีที่ซื้ออาวุธปืนจากเจ้าของที่
ได้รับอนุญาตแล้ว ผู้ซื้อจะต้อง ไปขอรับใบอนุญาตให้ซื้ออาวุธปืนนั้นจากนายทะเบียนก่อน จากนั้นให้ผู้ขอซื้อนำใบอนุญาตให้ซื้อไปขอรับ
ปืนจากผู้ขายได้เลย หรือจะไปหานายทะเบียนพร้อมกันทั้งผู้ซื้อและเจ้าของปืน ซึ่ง นายทะเบียนก็จะทำการออกแบบ ป.๔ ให้ผู้ซื้อต่อไป
ราชการอนุญาตแล้ว ก็จะได้ออกใบอนุญาตให้ไป ใบอนุญาตที่เกี่ยวกับอาวุธปืนที่สำคัญ ได้แก่
๑) ใบอนุญาตให้ซื้ออาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนส่วนบุคคล (แบบ ป.๓)
๒) ใบอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนส่วนบุคคล (แบบ ป.๔)มี ๒ ประเภทด้วยกัน ได้แก่
๒.๑ใบอนุญาตแบบชั่วคราว มีอายุ ๖ เดือนนับแต่วันที่ออก ใบอนุญาตนั้น
๒.๒ ใบอนุญาตแบบถาวร ใช้ได้ตลอดเวลาที่ผู้ได้รับใบอนุญาต ยังเป็นเจ้าของอาวุธปืนนั้นอยู่ สถานที่ในการขออนุญาต สำหรับผู้ที่มีภูมิ
ลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ ให้ยื่นขออนุญาตต่อนายทะเบียนณ กองทะเบียน กรมตำรวจ ส่วนผี่มี ภูมิลำเนาอยู่ที่ต่างจังหวัดให้ยื่นคำร้องขอต่อ
นายอำเภอท้องที่ เมื่อได้ยื่นคำร้องขอใบอนุญาตต่อทางราชการแล้ว นายทะเบียนก็จะ พิจารณาว่าควรจะออกใบอนุญาตให้ผู้ขอหรือไม่ ซึ่งมีข้อสังเกตที่สำคัญ ๆ ดังนี้
๓) ในการออกใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืนนั้น จะออกให้ได้ใน ๓ กรณีเท่านั้น คือ
๓.๑ เพื่อใช้ในการป้องกันตนเองและทรัพย์สิน
๓.๒ เพื่อใช้ในการเล่นกีฬา
๓.๓ เพื่อใช้ในการยิงล่าสัตว์ ถ้าไม่เข้ากรณีใดกรณีหนึ่งในสามกรณีนี้ทางราชการมักจะไม่ ออกใบอนุญาตให้
๔) ใบอนุญาตหนึ่งใบจะออกให้สำหรับอาวุธปืนหนึ่งกระบอกเท่านั้น
๕) ทางราชการจะไม่ออกใบอนุญาตให้มีหรือใช้ ให้แก่อาวุธที่เป็น อาวุธสงคราม
๖) ผู้ที่จะขอใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืนได้นั้นจะต้องเป็นบุคคล ที่ไม่มีคุณ สมบัติต้องห้ามตามกฎหมาย อาทิเช่น บุคคลผู้ที่ยังไม่บรรลุ
นิติภาวะ(อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์) บุคคลที่เป็นคนไร้ความสามารถหรือ เสมือนไร้ความสามารถ (คนวิกลจริต.คนจิตฟั่นเฟือน), บุคคลที่
ไม่มีอาชีพ และรายได้ คนจรจัด บุคคลผู้ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งนอกจากนี้ทางราชการจะไม่ออกใบอนุญาตให้แก่บุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ใน
ทะเบียนบ้านในท้องที่ที่บุคคลนั้น ขออนุญาตน้อยกว่าหกเดือน - ขั้นตอนในการออกใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืน ในขั้นแรกนายทะเบียน
จะออกใบอนุญาตให้ซื้ออาวุธ (แบบ ป.๓) และใบอนุญาต ให้มีหรือใช้อาวุธปืนแบบชั่วคราว (แบบ ป.๔ ชั่วคราว) ให้ก่อน ทั้งนี้ เพื่อ ที่จะได้
ให้ผู้ขออนุญาตไปจัดการหาซื้ออาวุธปืน และเครื่องกระสุนปืนมาให้ พร้อมเสียก่อนโดยไม่ผิดกฎหมาย จากนั้นให้ผู้ขออนุญาตนำอาวุธปืนดัง
กล่าว ไปให้นายทะเบียนตรวจสอบว่าอาวุธปืนและเครื่องกระสุนที่จัดหามานั้น มีชนิดและขนาดตรงตามที่ระบุไว้ในแบบ ป.๓ และ ป.๔ ชั่ว
คราวหรือไม่ ถ้า ตรง นายทะเบียนก็จะออกใบอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืนอย่างถาวร (แบบ ป.๔ ถาวร) ต่อไป แต่ทั้งนี้จะต้องนำเอาอาวุธ
ปืนไปให้นายทะเบียนตรวจสอบ ภายในกำหนด ๖ เดือนนับแต่วันที่ ได้ออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ ถ้าเกินกำหนด ๖ เดือนดังกล่าวไป ต้อง
ถือว่าผู้ขออนุญาตนั้นมีอาวุธปืน และเครื่องกระสุนปืนไว้ในความครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต หมายเหตุ กรณีที่ซื้ออาวุธปืนจากเจ้าของที่
ได้รับอนุญาตแล้ว ผู้ซื้อจะต้อง ไปขอรับใบอนุญาตให้ซื้ออาวุธปืนนั้นจากนายทะเบียนก่อน จากนั้นให้ผู้ขอซื้อนำใบอนุญาตให้ซื้อไปขอรับ
ปืนจากผู้ขายได้เลย หรือจะไปหานายทะเบียนพร้อมกันทั้งผู้ซื้อและเจ้าของปืน ซึ่ง นายทะเบียนก็จะทำการออกแบบ ป.๔ ให้ผู้ซื้อต่อไป
๘. การโอนอาวุธปืน กฎหมายห้ามมิให้โอนอาวุธปืนให้แก่บุคคลที่ไม่ได้รับใบอนุญาตให้มี และใช้อาวุธปืน แม้ผู้โอนจะเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้
มีและใช้อาวุธปืนได้ แต่ถ้า โอนอาวุธปืนให้แก่ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตผู้โอนจะมีความผิด "การโอน" หมายถึง การโอนกรรมสิทธิ์อาวุธปืนของ
ตนให้ผู้อื่นเป็น เจ้าของ การรับโอนอาวุธปืนทางมรดก ในกรณีที่เจ้าของอาวุธปืนซึ่งมีใบอนุญาตอยู่แล้ว ถึงแก่ความตาย กฎหมายกำหนด
ให้ทายาทของผู้ตาย หรือ บุคคลอื่น ๆ ซึ่งมีอาวุธปืน เครื่อง กระสุนปืน หรือใบอนุญาตให้มี หรือใช้อาวุธปืนของผู้ตาย ไปแจ้งการตาย ของ
เจ้าของปืนให้นายทะเบียนทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่รู้ถึงการตาย ของผู้ตาย ถ้าไม่มาแจ้งถือว่ามีความผิด ต้องโทษปรับไม่เกิน
๑,๐๐๐ บาท สำหรับนายทะเบียนที่จะไปแจ้งการตายดังกล่าวได้ ได้แก่
๑) นายทะเบียนท้องที่ที่ออกใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืนนั้น
๒) นายทะเบียนท้องที่ที่ผู้ตายมีภูมิลำเนาอยู่
๓) นายทะเบียนท้องที่ที่ผู้แจ้งการตายมีภูมิลำเนาอยู่ เมื่อได้แจ้งการตายต่อนายทะเบียนแล้ว ให้ทายาทผู้ได้รับอาวุธซึ่งเป็น มรดกของผู้ตาย
ไปติดต่อกับนายทะเบียนท้องที่ภายใน ๖ เดือน นับแต่วัน ที่ผู้ตาย (เจ้าของปืน)ถึงแก่ความตาย เพื่อขอรับใบอนุญาตใหม่ ทั้งนี้ เพราะ ถึงแม้
ว่าทายาทจะได้กรรมสิทธิ์ใบอาวุธปืนนั้นแล้วก็ตาม แต่ก็ยังถือว่าเป็นการ มีอาวุธไว้ในความครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต ซึ่งผิดกฎหมาย
เพราะฉะนั้นจึงต้องยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนท้องที่ เพื่อขอใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืน(แบบ ป.๔) ซึ่งทางราชการก็จะพิจารณาว่า
ทายาทหรือผู้ขออนุญาตมีคุณสมบัติที่ต้องห้ามตามกฎหมายหรือไม่ ถ้าไม่มีก็จะได้จัดการออกใบอนุญาตให้ต่อไป
มีและใช้อาวุธปืนได้ แต่ถ้า โอนอาวุธปืนให้แก่ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตผู้โอนจะมีความผิด "การโอน" หมายถึง การโอนกรรมสิทธิ์อาวุธปืนของ
ตนให้ผู้อื่นเป็น เจ้าของ การรับโอนอาวุธปืนทางมรดก ในกรณีที่เจ้าของอาวุธปืนซึ่งมีใบอนุญาตอยู่แล้ว ถึงแก่ความตาย กฎหมายกำหนด
ให้ทายาทของผู้ตาย หรือ บุคคลอื่น ๆ ซึ่งมีอาวุธปืน เครื่อง กระสุนปืน หรือใบอนุญาตให้มี หรือใช้อาวุธปืนของผู้ตาย ไปแจ้งการตาย ของ
เจ้าของปืนให้นายทะเบียนทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่รู้ถึงการตาย ของผู้ตาย ถ้าไม่มาแจ้งถือว่ามีความผิด ต้องโทษปรับไม่เกิน
๑,๐๐๐ บาท สำหรับนายทะเบียนที่จะไปแจ้งการตายดังกล่าวได้ ได้แก่
๑) นายทะเบียนท้องที่ที่ออกใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืนนั้น
๒) นายทะเบียนท้องที่ที่ผู้ตายมีภูมิลำเนาอยู่
๓) นายทะเบียนท้องที่ที่ผู้แจ้งการตายมีภูมิลำเนาอยู่ เมื่อได้แจ้งการตายต่อนายทะเบียนแล้ว ให้ทายาทผู้ได้รับอาวุธซึ่งเป็น มรดกของผู้ตาย
ไปติดต่อกับนายทะเบียนท้องที่ภายใน ๖ เดือน นับแต่วัน ที่ผู้ตาย (เจ้าของปืน)ถึงแก่ความตาย เพื่อขอรับใบอนุญาตใหม่ ทั้งนี้ เพราะ ถึงแม้
ว่าทายาทจะได้กรรมสิทธิ์ใบอาวุธปืนนั้นแล้วก็ตาม แต่ก็ยังถือว่าเป็นการ มีอาวุธไว้ในความครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต ซึ่งผิดกฎหมาย
เพราะฉะนั้นจึงต้องยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนท้องที่ เพื่อขอใบอนุญาตให้มีหรือใช้อาวุธปืน(แบบ ป.๔) ซึ่งทางราชการก็จะพิจารณาว่า
ทายาทหรือผู้ขออนุญาตมีคุณสมบัติที่ต้องห้ามตามกฎหมายหรือไม่ ถ้าไม่มีก็จะได้จัดการออกใบอนุญาตให้ต่อไป
๙. กรณีต้องแจ้งนายทะเบียน
๑) อาวุธปืนหายหรือถูกทำลายต้องแจ้งนายทะเบียนภายใน ๑๕ วัน
๒) ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลาย ต้องขอใบอนุญาตแทน ภายใน ๓๐ วัน นับแต่ทราบเหตุการณ์สูญหาย หรือถูกทำลาย
๓) ถ้าผู้ได้รับอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืนตาย ทายาทต้องแจ้งนายทะเบียนภายใน ๓๐ วัน นับแต่ทราบวันตายของผู้ได้รับใบอนุญาต มิฉะนั้น
มีความผิด
๔) ผู้ได้รับใบอนุญาต ย้ายที่อยู่ ต้องแจ้งย้ายต่อนายทะเบียนภาย ใน ๑๕ วันนับแต่วันย้าย โดยต้องแจ้ง ๒ ที่คือแจ้งต่อนายทะเบียนท้องที่ที่
ย้ายออกภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันย้ายออก และแจ้งต่อนายทะเบียนที่ย้ายเข้า ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันย้ายเข้า ใครไม่แจ้งมีความผิด
๕) ผู้ได้รับใบอนุญาต หากกลายเป็นผู้ไม่มีสิทธิรับใบอนุญาตใน ภายหลัง เช่นกลายเป็นคนวิกลจริต หรือคนไร้ความสามารถ ต้องคืนอาวุธ ปืน
และใบอนุญาตต่อนายทะเบียนโดยมิชักช้า มิฉะนั้นจะมีความผิด
๖) ผู้ใดนำอาวุธปืนมาจากต่างประเทศ ต้องส่งมอบอาวุธปืนแก่ พนักงาน ศุลกากร หรือแจ้งต่อนายทะเบียนท้องที่โดยมิชักช้า มิฉะนั้นจะมี
ความผิด ๑๐. การเพิกถอนใบอนุญาต นายทะเบียนมีอำนาจเพิกถอนใบ อนุญาตได้ถ้าออกให้โดยหลงผิด หรือผู้ได้รับอนุญาตเป็นคนเคย
ต้องโทษมาก่อน เป็นต้น เมื่อเพิกถอนแล้วผู้รับอนุญาตต้องมอบปืนและใบอนุญาตคืนแก่นายทะเบียนโดยไม่ชักช้า อนึ่ง การใหผู้อื่นใช้ใบ
อนุญาตหรือการใช้ใบอนุญาตของผู้อื่น มีโทษ ถึงจำคุก
๑) อาวุธปืนหายหรือถูกทำลายต้องแจ้งนายทะเบียนภายใน ๑๕ วัน
๒) ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลาย ต้องขอใบอนุญาตแทน ภายใน ๓๐ วัน นับแต่ทราบเหตุการณ์สูญหาย หรือถูกทำลาย
๓) ถ้าผู้ได้รับอนุญาตให้มีและใช้อาวุธปืนตาย ทายาทต้องแจ้งนายทะเบียนภายใน ๓๐ วัน นับแต่ทราบวันตายของผู้ได้รับใบอนุญาต มิฉะนั้น
มีความผิด
๔) ผู้ได้รับใบอนุญาต ย้ายที่อยู่ ต้องแจ้งย้ายต่อนายทะเบียนภาย ใน ๑๕ วันนับแต่วันย้าย โดยต้องแจ้ง ๒ ที่คือแจ้งต่อนายทะเบียนท้องที่ที่
ย้ายออกภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันย้ายออก และแจ้งต่อนายทะเบียนที่ย้ายเข้า ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันย้ายเข้า ใครไม่แจ้งมีความผิด
๕) ผู้ได้รับใบอนุญาต หากกลายเป็นผู้ไม่มีสิทธิรับใบอนุญาตใน ภายหลัง เช่นกลายเป็นคนวิกลจริต หรือคนไร้ความสามารถ ต้องคืนอาวุธ ปืน
และใบอนุญาตต่อนายทะเบียนโดยมิชักช้า มิฉะนั้นจะมีความผิด
๖) ผู้ใดนำอาวุธปืนมาจากต่างประเทศ ต้องส่งมอบอาวุธปืนแก่ พนักงาน ศุลกากร หรือแจ้งต่อนายทะเบียนท้องที่โดยมิชักช้า มิฉะนั้นจะมี
ความผิด ๑๐. การเพิกถอนใบอนุญาต นายทะเบียนมีอำนาจเพิกถอนใบ อนุญาตได้ถ้าออกให้โดยหลงผิด หรือผู้ได้รับอนุญาตเป็นคนเคย
ต้องโทษมาก่อน เป็นต้น เมื่อเพิกถอนแล้วผู้รับอนุญาตต้องมอบปืนและใบอนุญาตคืนแก่นายทะเบียนโดยไม่ชักช้า อนึ่ง การใหผู้อื่นใช้ใบ
อนุญาตหรือการใช้ใบอนุญาตของผู้อื่น มีโทษ ถึงจำคุก
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น