JOB Ratchakarn
เตรียมสอบตั๋วทนาย 4
เขียนโดย small ที่ 21:01
ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
การเตรียมคดีและการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีในศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
- ศาล IP (Intellectual Property) เกิดจากสถานการณ์วิกฤตปี 2540 ต้องการแก้ปัญหาเศรษฐกิจโดยเข้าไปเป็นสมาชิกของ WTO ประเทศไทย
จึงมีพันธะกรณีต้องมีระบบศาล ที่มีการคุ้มครองสิทธิใน IP
- การค้า แบ่งเป็น 3 ประเภท - การซื้อขายสินค้าในสิ่งที่จับต้องได้
- การซื้อขายบริการ สถาบันการเงิน การให้คำปรึกษา
- การซื้อขายทรัพย์สินทางปัญญา ซอร์ฟแวร์ อุตสาหกรรมภาพยนตร์
- ศาล IP เป็นศาลชำนัญพิเศษ ผู้พพษมี 2 ประเภท ผู้พพษอาชีพ (ตุลาการ) และผู้พพษสมทบ (คัดมาจากบุคคลที่มีค.รู้ค.สามารถที่อยู่ในเขตอำนาจของศาล)
เหตุที่ต้องมีผู้พพพษสมทบ เพราะต้องอาศัยค.รู้ ค.เชี่ยวชาญพิเศษ ซึ่งไม่เป็นที่รู้กันในหมู่คนที่มีค.รู้ระดับสามัญทั่วไป
องค์คณะ 3 คน คือ อาชีพ 2 + สมทบ 1 มีเสียงเท่ากันทั้งข้อเท็จจริงและข้อกม. แต่ผู้พพษสมทบ มีวาระคราวละ 5 ปี
- เขตอำนาจศาล มีศาลเดียว คือ ศาลIP กลาง มีเขตอำนาจทั่วราชอาณาจักร
มาตรา 7 ศาล IP มีอำนาจ
1) พิจารณาคดีแพ่งและคดีอาญาเกี่ยวสิทธิใน IP เช่น ข้อพิพาทเกี่ยวกับการให่ใช้สิทธิ
2) มีอำนาจพิจาณาเรื่องการค้าระหว่างประเทศ การรับขนของทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การชำระหนี้ตามสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ
3) การกักเรือ พรบ.ว่าด้วยการกักเรือ พ.ศ. 2534 เช่น กรณีเรือทำละเมิด ศาลมีอำนาจกักเรือ ( Arrest of ship)โดยไม่จำต้องมีการฟ้องคดี ผู้ถูกทำละเมิด
ทำคำร้องฝ่ายเดียว ทำการไต่สวนฝ่ายเดียว การกักเรือ เป็นการยึดเรือไว้เป็นประกันการชำระหนี้ หากตนชนะคดี โดยผู้ขอจะต้องวางหลักประกัน
ค.เสียหาย อันเกิดจากการกักเรือไว้ต่อศาล หากตนแพ้คดี
4) อนุญาโตตุลาการ ในเรื่องการสืบพยาน การขอคุ้มครองชั่วคราว การบังคับตามคำชี้ขาด
5) การอุดหนุนและการทุ่มตลาด คือ การที่พ่อค้า ตปท.ได้รับการอุดหนุนจากรัฐตปท. ในการส่งสินค้าเข้าในไทย โดยที่พ่อค้าไทยไม่ได้รับการอุดหนุน
จากรัฐบาลไทย รัฐบาลไทยต้องเก็บภาษีจากพ่อค้า ตปท. เพื่อให้เท่าเทียมกับพ่อค้าไทย ในการแข่งขันทางการค้า
- หากมีปัญหาในเรื่องเขตอำนาจศาล ระหว่างศาลแพ่ง และ ศาลIP คนวินิจฉัย คือ ประธานศาลฎีกา
- การพิจารณา ม.26 ,30 อธิบดีศาล IP โดยอนุมัติ ปธ.ศาลฎีกา มีอำนาจออกข้อกำหนดของตนเองเกี่ยวกับวิธีพิจารณา
- การสืบพยาน เป็นการยื่นบันทึกคำเบิกความ , วิดีโอคอนเฟอเรนซ์ , ตกลงกันไม่ต้องแปลสัญญาที่เป็นภาษาตปท. ก็ได้ แต่ยอมรับเฉพาะ ภาษาอังกฤษ
(กำหนดข้อ 23 ) เพราะภาษาอังกฤษ เป็นภาษกลางของการค้าระหว่างประเทศ โดยไม่ต้องแปลในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ
- มีวิธีการคุ้มครองชั่วคราวก่อนฟ้อง
- ลำดับกม.ในการใช้ ข้อกำหนด พรบ. วิแพ่ง/วิอาญา /วิแขวง
- ม.27 ต้องนั่งพิจารณาคดีต่อเนื่อง เว้นแต่มีเหตุจำเป็นอันมิอาจก้าวล่วงเสียได้ วันพิจารณาวันแรกเรียกว่า “วันกำหนดแนวทางในการสืบพยาน”
ม.28 สืบพยานหลักฐานไว้ก่อนฟ้องคดีได้ ม.34 ถ้าคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ไม่มา ถือว่า ทราบวันนัด
- ขอขยาย/ย่นระยะเวลาได้ตามค.จำเป็น โดยไม่ต้องใช้ ปวพ. การอุทธรณ์ ต้องอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา ภายใน 1 เดือน
- ข้อกำหนดที่อธิบดีศาล IP กำหนดขึ้น อาศัยอำนาจตามความใน ม.30 พรบ.ศาลIP
ข้อ3 การแก้ไขกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ ศชต.แก้ได้ ไม่ต้องอุทธรณ์
ข้อ4 กระบวนพิจารณาตกลงกันเป็นอย่างอื่นได้ เพราะไม่ได้มองว่า กระบวนพิจารณาเป็นเรื่อง ค.สงบเรียบร้อยของปชช. จึงมีการเอาเทคโนโลยี
เข้ามาใช้ แก้ปัญหา คำฟ้องเคลือบคลุม ถ้าศาลไม่เข้าใจเรียกมาถามได้
ข้อ 12-19 ขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนฟ้อง วิแพ่งเป็นเรื่องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพพษ การใช้มาตรการตาม วิแพ่ง อาจก่อให้เกิดค.เสียหายที่
ไม่สามารถเยียวยาได้ แต่ตามข้อนี้ เป็นการหยุดการกระทำที่จะก่อให้เกิดค.เสียหาย โดยจะต้องมีการวางหลักประกันค.เสียหายก่อนศาลสั่ง
ถ้าศาลสั่งแล้วไม่ไปฟ้อง คำสั่งสิ้นผลใน 15 วัน
ข้อ 20-24 การขอสืบพยานไว้ก่อน ให้เอกชนฝ่ายหนึ่งเข้าไปในเคหสถาน ของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อไปเอาหลักฐานมาได้ โดยไม่ต้องใช้จนท.รัฐ
แต่ต้องมีการวางประกันค .เสียหาย
- พิจารณาเป็นการลับและห้ามโฆษณา เพราะอาจเสียหายต่อชื่อเสียง
- มี วันกำหนดแนวทางในการสืบพยาน แทน วันชี้สองสถาน ศาลจะทำการบันทึกคำเบิกความแทนการซักถาม เมื่อทุกคนได้อ่านหมดแล้ว ถามค้านได้เลย
- วันกำหนดแนวทางในการสืบพยาน จะมี 1. การไกล่เกลี่ยเพื่อให้เกิดการประนีประนอมยอมความ / การอนุญาโตตุลาการ แทน
2. กำหนดระยะเวลาทั้งหมดในการดำเนินคดี และขั้นตอนในการดำเนินคดี ตกลงในเรื่องทางเทคนิค พยานผู้เชี่ยวชาญเอาคนเดียวกัน
- การทบทวนค.จำของพยาน ใช้บันทึกช่วยจำได้ (Reflex Memory)
- การเสนอบันทึกยื่นได้ ใช้แทนการซักถาม
-หากคู่ความอยู่ ตปท. สามารถ บันทึกถ้อยคำที่สาบานตนในตปท.(Affidavit) , การสืบพยานทางจอภาพ , บินมาเบิกความ ยื่นบันทึกคำเบิกความ
การพิจารณาคดี ทำที่การสื่อสาร โดยทางวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ คู่ความเสียค่าใช้จ่ายเอง
- บันทึกถ้อยคำที่สาบานตนในตปท. ถือเป็นการเบิกความในศาลไทย มีผลคือ 1.เป็นการพิจารณาโดยเปิดเผย หากละเมิดอำนาจศาล ก็ลงโทษได้
2. ค่าใช้จ่ายในการเบิกความ ไม่ถือเป็นค่าฤชาธรรมเนียม แม้ชนะก็ตกเป็นพับ
- การสืบพยาน - การซักถาม ใช้บันทึกถ้อยคำ
- การถามค้าน ถามด้วยวาจา
- การถามติง ถามด้วยวาจา
- ยอมรับฟ้งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ นับฟ้งพยานบอกเล่าแเต่ มีน้ำหนักน้อย
ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
การเตรียมคดีและการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
- กม.ที่เกี่ยวข้อง คือ กม.ปปช. + พรบ.ประกอบรธน. วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง + ข้อกำหนด (ออกตามความใน ม.18 ของพรบ.ดังกล่าว)
- ลำดับชั้นของกม. = วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้อกำหนด ปวพ.+ปวอ.
- “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” ได้แก่ นายกรัฐมนตรี , รมต., สส., สว. , ขรก.ทางการเมืองอื่น ตาม พรบ.ขรก.การเมือง , ขรก.รัฐสภาฝ่ายการเมือง,ผู้ว่ากทม.,
รองผู้ว่ากทม., ผู้บริหารและสมาชิกเทศบาลนคร, ผู้บริหารและสมาชิกสภาท้องถิ่น ต้องมีรายได้ตามที่ปปช.กำหหนด
“ผู้เสียหาย” คือ ผู้ที่เสียหายจากการกระทำอันเป็นเหตุให้ จนท.ร่ำรวยผิดปกติ /ทุจริตต่อหน้าที่
“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” คือ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
- การนำคดีขึ้นสู่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ต้องผ่าน ปปช.ชี้มูลก่อน
- เขตอำนาจศาลฎีกา ม.9 1) คดีที่มีมูลกล่าวหาว่า นายกรัฐมนตรี , รมต., สส., สว. , ขรก.ทางการเมืองอื่น ร่ำรวยผิดปกติ /กระทำผิดต่อตำแหน่ง
หน้าที่ราชการตามปอ. / กระทำผิดต่อหน้าที่ที่ตนดำรงอยู่ /ทุจริตต่อกม.อื่น (ส่วนขรกรัฐสภาฝ่ายการเมือง เมื่อ ปปช.ชี้มูลแล้วไปศาลยตธ.)
2) คดีที่มีมูลแห่งคดีเป็นการกล่าวหาบุคคลตามข้อ 1) ว่าเป็นตัวการ, ผู้ใช้, ผู้สนับสนุน กระทำความผิด
3) ถูกยกเลิกไปโดยยกเลิก รธน.
4) ผู้บริหารและสมาชิกสภาท้องถิ่น มีท/สเพิ่มขึ้นผิดปกติ
- ระบบการพิจารณาคดีของศาล เป็นระบบไต่สวน ศาลยึดรายงานของปปช.เป็นหลักในการพิจารณา อาจไต่สวนหา ข้อเท็จจริง ตามที่เห็นสมควร
ผสห. ต้องทำคำร้องเป็นหนังสือกล่าวหามาที่ปปช.
- ปปช. มี 9 คน ตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นไต่สวนในแต่ละข้อกล่าวหา ทนายความต้องมีการตั้งคณะผู้ทำงานขึ้นมาเหมือนกัน จึงจะต่อสู้กับ ปปช.ได้
ทนายความต้องศึกษา และต่อสู้จากแฟ้ม /รายงานที่ปปช.กำหนด
- กระบวนการพิจารณา เมื่อปปช.ชี้มูลแล้ว มีเวลา 14 วัน ต้องส่งรายงานทั้งหมดให้แก่ อัยการสูงสุด (อสส.) อสส.มีเวลา 30 วัน แล้วต้องฟ้องคดี
อสส.เท่านั้น อาจเห็นว่า รายงานของปปช. ยังไม่สมบูรณ์ ต้องแจ้งให้ ปปช. ทราบ เริ่มนับจำนวน 14 วัน ตั้งคณะทำงานร่วมระหว่าง ปปช. กับ อัยการ
เมื่อสมบูรณ์แล้ว ส่งคืนมาให้ อสส. อสส. นำคดีขึ้นสู่ศาล (ไม่มีกำหนดเวลา) ถ้าหาข้อยุติร่วมกันไม่ได้ ให้ ปปช./ทนายความที่ได้รับมอบหมาย ฟ้องคดีได้
ภายใน 14 วัน นับ แต่วันที่มีมติว่าตกลงกันไม่ได้
- การนำคดีขึ้นสู่ศาล ยังไม่มีมติองค์คณะ แต่มีผู้พพษ ประจำแผนกทำหน้าที่ รับฟ้องไว้ รอฟังคำสั่ง หลังจากตั้งองค์คณะแล้ว ( ผู้พพษ ประจำแผนกรับฟ้องไว้
ในทางธุรการ ผู้พพษองค์คณะรับฟ้องไว้ในทางเนื้อหา) ( ถ้าฟ้องไม่ทัน 14 วัน ก็ฟ้องได้ภายในอายุความ แต่อาจเกิดปด.ข้อต่อสู้ทางกม.)
- แม้ทนายความฟ้อง ก็ไม่ต้องมีการไต่สวนมูลฟ้อง เพราะผ่านการไต่สวนชั้นปปช.มาแล้ว
- ศาลฎีกา ต้องเรียกประชุมใหญ่ภายใน 14 วัน เพื่อเลือกองค์คณะ บุคคลที่มีสิทธิเป็นองค์คณะ ต้องเป็น ผู้พพษศาลฎีกา ขึ้นไป โดยเลือก 9 คนโดยการลงคะแนนลับ
เลือก 1 คน เป็นเจ้าของสำนวน จาก 9 คน
- เจ้าของสำนวนเรียกประชุมองค์คณะ ส่งสำเนาคำฟ้องที่ยื่นฟ้องมา เมื่อสั่งประทับฟ้องก็ นัดพิจารณาคดีครั้งแรก กำหนดวันนัด แจ้งคู่ความ
- วันนัดพิจารณาคดีครั้งแรก ศาลจะอ่านและอธิบายฟ้องให้ จล.ฟัง ถามจล.ว่ากระทำผิดจริงหรือไม่ และบันทึกคำให้การ (ทนายความต้องเตรียมคำให้การให้จล.
ในทุกแง่มุม เพื่อให้เกิดปด. ในการไต่สวนต่อไป)
- วันตรวจพยานหลักฐาน ก่อนวันตรวจไม่น้อยกว่า 7 วัน คู่ความต้องยื่นบัญชีระบุพยาน ( ต้องเกิดการโต้แย้งพยานหลักฐาน ศาลจึงทำการไต่สวน ไม่เช่นนั้น
ศาลจะยึดตามสำนวน ปปช.)
- เมื่อทำการโต้แย้งเสร็จ ต้องเสนอแนวทางในการสืบพยานด้วย + ต้องเสนอคำถามมาด้วย ( คนถามพยานคือ ศาล)
- กระบวนพิจารณาต้องเปิดเผย ต่อมาศาลจะทำการประชุม ว่าจะให้ทำการไต่สวนหรือไม่ และให้ไต่สวนไปในทางใด (หากแนวทางดี ศาลจะทำการไต่สวนเสมอ)
- ศาลนัดไต่สวน ศาลจะทำการไต่สวน ( ศาลจะถามเองทั้งหมด ไม่มีการซักถาม ถามค้าน ถามติงใดๆ มีเพียง คำถามของศาล และคำถามเพิ่มเติม)
การเตรียมคดีและการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีในศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
- ศาล IP (Intellectual Property) เกิดจากสถานการณ์วิกฤตปี 2540 ต้องการแก้ปัญหาเศรษฐกิจโดยเข้าไปเป็นสมาชิกของ WTO ประเทศไทย
จึงมีพันธะกรณีต้องมีระบบศาล ที่มีการคุ้มครองสิทธิใน IP
- การค้า แบ่งเป็น 3 ประเภท - การซื้อขายสินค้าในสิ่งที่จับต้องได้
- การซื้อขายบริการ สถาบันการเงิน การให้คำปรึกษา
- การซื้อขายทรัพย์สินทางปัญญา ซอร์ฟแวร์ อุตสาหกรรมภาพยนตร์
- ศาล IP เป็นศาลชำนัญพิเศษ ผู้พพษมี 2 ประเภท ผู้พพษอาชีพ (ตุลาการ) และผู้พพษสมทบ (คัดมาจากบุคคลที่มีค.รู้ค.สามารถที่อยู่ในเขตอำนาจของศาล)
เหตุที่ต้องมีผู้พพพษสมทบ เพราะต้องอาศัยค.รู้ ค.เชี่ยวชาญพิเศษ ซึ่งไม่เป็นที่รู้กันในหมู่คนที่มีค.รู้ระดับสามัญทั่วไป
องค์คณะ 3 คน คือ อาชีพ 2 + สมทบ 1 มีเสียงเท่ากันทั้งข้อเท็จจริงและข้อกม. แต่ผู้พพษสมทบ มีวาระคราวละ 5 ปี
- เขตอำนาจศาล มีศาลเดียว คือ ศาลIP กลาง มีเขตอำนาจทั่วราชอาณาจักร
มาตรา 7 ศาล IP มีอำนาจ
1) พิจารณาคดีแพ่งและคดีอาญาเกี่ยวสิทธิใน IP เช่น ข้อพิพาทเกี่ยวกับการให่ใช้สิทธิ
2) มีอำนาจพิจาณาเรื่องการค้าระหว่างประเทศ การรับขนของทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การชำระหนี้ตามสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ
3) การกักเรือ พรบ.ว่าด้วยการกักเรือ พ.ศ. 2534 เช่น กรณีเรือทำละเมิด ศาลมีอำนาจกักเรือ ( Arrest of ship)โดยไม่จำต้องมีการฟ้องคดี ผู้ถูกทำละเมิด
ทำคำร้องฝ่ายเดียว ทำการไต่สวนฝ่ายเดียว การกักเรือ เป็นการยึดเรือไว้เป็นประกันการชำระหนี้ หากตนชนะคดี โดยผู้ขอจะต้องวางหลักประกัน
ค.เสียหาย อันเกิดจากการกักเรือไว้ต่อศาล หากตนแพ้คดี
4) อนุญาโตตุลาการ ในเรื่องการสืบพยาน การขอคุ้มครองชั่วคราว การบังคับตามคำชี้ขาด
5) การอุดหนุนและการทุ่มตลาด คือ การที่พ่อค้า ตปท.ได้รับการอุดหนุนจากรัฐตปท. ในการส่งสินค้าเข้าในไทย โดยที่พ่อค้าไทยไม่ได้รับการอุดหนุน
จากรัฐบาลไทย รัฐบาลไทยต้องเก็บภาษีจากพ่อค้า ตปท. เพื่อให้เท่าเทียมกับพ่อค้าไทย ในการแข่งขันทางการค้า
- หากมีปัญหาในเรื่องเขตอำนาจศาล ระหว่างศาลแพ่ง และ ศาลIP คนวินิจฉัย คือ ประธานศาลฎีกา
- การพิจารณา ม.26 ,30 อธิบดีศาล IP โดยอนุมัติ ปธ.ศาลฎีกา มีอำนาจออกข้อกำหนดของตนเองเกี่ยวกับวิธีพิจารณา
- การสืบพยาน เป็นการยื่นบันทึกคำเบิกความ , วิดีโอคอนเฟอเรนซ์ , ตกลงกันไม่ต้องแปลสัญญาที่เป็นภาษาตปท. ก็ได้ แต่ยอมรับเฉพาะ ภาษาอังกฤษ
(กำหนดข้อ 23 ) เพราะภาษาอังกฤษ เป็นภาษกลางของการค้าระหว่างประเทศ โดยไม่ต้องแปลในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ
- มีวิธีการคุ้มครองชั่วคราวก่อนฟ้อง
- ลำดับกม.ในการใช้ ข้อกำหนด พรบ. วิแพ่ง/วิอาญา /วิแขวง
- ม.27 ต้องนั่งพิจารณาคดีต่อเนื่อง เว้นแต่มีเหตุจำเป็นอันมิอาจก้าวล่วงเสียได้ วันพิจารณาวันแรกเรียกว่า “วันกำหนดแนวทางในการสืบพยาน”
ม.28 สืบพยานหลักฐานไว้ก่อนฟ้องคดีได้ ม.34 ถ้าคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ไม่มา ถือว่า ทราบวันนัด
- ขอขยาย/ย่นระยะเวลาได้ตามค.จำเป็น โดยไม่ต้องใช้ ปวพ. การอุทธรณ์ ต้องอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา ภายใน 1 เดือน
- ข้อกำหนดที่อธิบดีศาล IP กำหนดขึ้น อาศัยอำนาจตามความใน ม.30 พรบ.ศาลIP
ข้อ3 การแก้ไขกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ ศชต.แก้ได้ ไม่ต้องอุทธรณ์
ข้อ4 กระบวนพิจารณาตกลงกันเป็นอย่างอื่นได้ เพราะไม่ได้มองว่า กระบวนพิจารณาเป็นเรื่อง ค.สงบเรียบร้อยของปชช. จึงมีการเอาเทคโนโลยี
เข้ามาใช้ แก้ปัญหา คำฟ้องเคลือบคลุม ถ้าศาลไม่เข้าใจเรียกมาถามได้
ข้อ 12-19 ขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนฟ้อง วิแพ่งเป็นเรื่องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพพษ การใช้มาตรการตาม วิแพ่ง อาจก่อให้เกิดค.เสียหายที่
ไม่สามารถเยียวยาได้ แต่ตามข้อนี้ เป็นการหยุดการกระทำที่จะก่อให้เกิดค.เสียหาย โดยจะต้องมีการวางหลักประกันค.เสียหายก่อนศาลสั่ง
ถ้าศาลสั่งแล้วไม่ไปฟ้อง คำสั่งสิ้นผลใน 15 วัน
ข้อ 20-24 การขอสืบพยานไว้ก่อน ให้เอกชนฝ่ายหนึ่งเข้าไปในเคหสถาน ของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อไปเอาหลักฐานมาได้ โดยไม่ต้องใช้จนท.รัฐ
แต่ต้องมีการวางประกันค .เสียหาย
- พิจารณาเป็นการลับและห้ามโฆษณา เพราะอาจเสียหายต่อชื่อเสียง
- มี วันกำหนดแนวทางในการสืบพยาน แทน วันชี้สองสถาน ศาลจะทำการบันทึกคำเบิกความแทนการซักถาม เมื่อทุกคนได้อ่านหมดแล้ว ถามค้านได้เลย
- วันกำหนดแนวทางในการสืบพยาน จะมี 1. การไกล่เกลี่ยเพื่อให้เกิดการประนีประนอมยอมความ / การอนุญาโตตุลาการ แทน
2. กำหนดระยะเวลาทั้งหมดในการดำเนินคดี และขั้นตอนในการดำเนินคดี ตกลงในเรื่องทางเทคนิค พยานผู้เชี่ยวชาญเอาคนเดียวกัน
- การทบทวนค.จำของพยาน ใช้บันทึกช่วยจำได้ (Reflex Memory)
- การเสนอบันทึกยื่นได้ ใช้แทนการซักถาม
-หากคู่ความอยู่ ตปท. สามารถ บันทึกถ้อยคำที่สาบานตนในตปท.(Affidavit) , การสืบพยานทางจอภาพ , บินมาเบิกความ ยื่นบันทึกคำเบิกความ
การพิจารณาคดี ทำที่การสื่อสาร โดยทางวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ คู่ความเสียค่าใช้จ่ายเอง
- บันทึกถ้อยคำที่สาบานตนในตปท. ถือเป็นการเบิกความในศาลไทย มีผลคือ 1.เป็นการพิจารณาโดยเปิดเผย หากละเมิดอำนาจศาล ก็ลงโทษได้
2. ค่าใช้จ่ายในการเบิกความ ไม่ถือเป็นค่าฤชาธรรมเนียม แม้ชนะก็ตกเป็นพับ
- การสืบพยาน - การซักถาม ใช้บันทึกถ้อยคำ
- การถามค้าน ถามด้วยวาจา
- การถามติง ถามด้วยวาจา
- ยอมรับฟ้งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ นับฟ้งพยานบอกเล่าแเต่ มีน้ำหนักน้อย
ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
การเตรียมคดีและการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
- กม.ที่เกี่ยวข้อง คือ กม.ปปช. + พรบ.ประกอบรธน. วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง + ข้อกำหนด (ออกตามความใน ม.18 ของพรบ.ดังกล่าว)
- ลำดับชั้นของกม. = วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้อกำหนด ปวพ.+ปวอ.
- “ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง” ได้แก่ นายกรัฐมนตรี , รมต., สส., สว. , ขรก.ทางการเมืองอื่น ตาม พรบ.ขรก.การเมือง , ขรก.รัฐสภาฝ่ายการเมือง,ผู้ว่ากทม.,
รองผู้ว่ากทม., ผู้บริหารและสมาชิกเทศบาลนคร, ผู้บริหารและสมาชิกสภาท้องถิ่น ต้องมีรายได้ตามที่ปปช.กำหหนด
“ผู้เสียหาย” คือ ผู้ที่เสียหายจากการกระทำอันเป็นเหตุให้ จนท.ร่ำรวยผิดปกติ /ทุจริตต่อหน้าที่
“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” คือ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
- การนำคดีขึ้นสู่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ต้องผ่าน ปปช.ชี้มูลก่อน
- เขตอำนาจศาลฎีกา ม.9 1) คดีที่มีมูลกล่าวหาว่า นายกรัฐมนตรี , รมต., สส., สว. , ขรก.ทางการเมืองอื่น ร่ำรวยผิดปกติ /กระทำผิดต่อตำแหน่ง
หน้าที่ราชการตามปอ. / กระทำผิดต่อหน้าที่ที่ตนดำรงอยู่ /ทุจริตต่อกม.อื่น (ส่วนขรกรัฐสภาฝ่ายการเมือง เมื่อ ปปช.ชี้มูลแล้วไปศาลยตธ.)
2) คดีที่มีมูลแห่งคดีเป็นการกล่าวหาบุคคลตามข้อ 1) ว่าเป็นตัวการ, ผู้ใช้, ผู้สนับสนุน กระทำความผิด
3) ถูกยกเลิกไปโดยยกเลิก รธน.
4) ผู้บริหารและสมาชิกสภาท้องถิ่น มีท/สเพิ่มขึ้นผิดปกติ
- ระบบการพิจารณาคดีของศาล เป็นระบบไต่สวน ศาลยึดรายงานของปปช.เป็นหลักในการพิจารณา อาจไต่สวนหา ข้อเท็จจริง ตามที่เห็นสมควร
ผสห. ต้องทำคำร้องเป็นหนังสือกล่าวหามาที่ปปช.
- ปปช. มี 9 คน ตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นไต่สวนในแต่ละข้อกล่าวหา ทนายความต้องมีการตั้งคณะผู้ทำงานขึ้นมาเหมือนกัน จึงจะต่อสู้กับ ปปช.ได้
ทนายความต้องศึกษา และต่อสู้จากแฟ้ม /รายงานที่ปปช.กำหนด
- กระบวนการพิจารณา เมื่อปปช.ชี้มูลแล้ว มีเวลา 14 วัน ต้องส่งรายงานทั้งหมดให้แก่ อัยการสูงสุด (อสส.) อสส.มีเวลา 30 วัน แล้วต้องฟ้องคดี
อสส.เท่านั้น อาจเห็นว่า รายงานของปปช. ยังไม่สมบูรณ์ ต้องแจ้งให้ ปปช. ทราบ เริ่มนับจำนวน 14 วัน ตั้งคณะทำงานร่วมระหว่าง ปปช. กับ อัยการ
เมื่อสมบูรณ์แล้ว ส่งคืนมาให้ อสส. อสส. นำคดีขึ้นสู่ศาล (ไม่มีกำหนดเวลา) ถ้าหาข้อยุติร่วมกันไม่ได้ ให้ ปปช./ทนายความที่ได้รับมอบหมาย ฟ้องคดีได้
ภายใน 14 วัน นับ แต่วันที่มีมติว่าตกลงกันไม่ได้
- การนำคดีขึ้นสู่ศาล ยังไม่มีมติองค์คณะ แต่มีผู้พพษ ประจำแผนกทำหน้าที่ รับฟ้องไว้ รอฟังคำสั่ง หลังจากตั้งองค์คณะแล้ว ( ผู้พพษ ประจำแผนกรับฟ้องไว้
ในทางธุรการ ผู้พพษองค์คณะรับฟ้องไว้ในทางเนื้อหา) ( ถ้าฟ้องไม่ทัน 14 วัน ก็ฟ้องได้ภายในอายุความ แต่อาจเกิดปด.ข้อต่อสู้ทางกม.)
- แม้ทนายความฟ้อง ก็ไม่ต้องมีการไต่สวนมูลฟ้อง เพราะผ่านการไต่สวนชั้นปปช.มาแล้ว
- ศาลฎีกา ต้องเรียกประชุมใหญ่ภายใน 14 วัน เพื่อเลือกองค์คณะ บุคคลที่มีสิทธิเป็นองค์คณะ ต้องเป็น ผู้พพษศาลฎีกา ขึ้นไป โดยเลือก 9 คนโดยการลงคะแนนลับ
เลือก 1 คน เป็นเจ้าของสำนวน จาก 9 คน
- เจ้าของสำนวนเรียกประชุมองค์คณะ ส่งสำเนาคำฟ้องที่ยื่นฟ้องมา เมื่อสั่งประทับฟ้องก็ นัดพิจารณาคดีครั้งแรก กำหนดวันนัด แจ้งคู่ความ
- วันนัดพิจารณาคดีครั้งแรก ศาลจะอ่านและอธิบายฟ้องให้ จล.ฟัง ถามจล.ว่ากระทำผิดจริงหรือไม่ และบันทึกคำให้การ (ทนายความต้องเตรียมคำให้การให้จล.
ในทุกแง่มุม เพื่อให้เกิดปด. ในการไต่สวนต่อไป)
- วันตรวจพยานหลักฐาน ก่อนวันตรวจไม่น้อยกว่า 7 วัน คู่ความต้องยื่นบัญชีระบุพยาน ( ต้องเกิดการโต้แย้งพยานหลักฐาน ศาลจึงทำการไต่สวน ไม่เช่นนั้น
ศาลจะยึดตามสำนวน ปปช.)
- เมื่อทำการโต้แย้งเสร็จ ต้องเสนอแนวทางในการสืบพยานด้วย + ต้องเสนอคำถามมาด้วย ( คนถามพยานคือ ศาล)
- กระบวนพิจารณาต้องเปิดเผย ต่อมาศาลจะทำการประชุม ว่าจะให้ทำการไต่สวนหรือไม่ และให้ไต่สวนไปในทางใด (หากแนวทางดี ศาลจะทำการไต่สวนเสมอ)
- ศาลนัดไต่สวน ศาลจะทำการไต่สวน ( ศาลจะถามเองทั้งหมด ไม่มีการซักถาม ถามค้าน ถามติงใดๆ มีเพียง คำถามของศาล และคำถามเพิ่มเติม)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น