JOB Ratchakarn
สัญญากู้ยืมเงินทั่วไป
เขียนโดย small ที่ 05:22
สัญญากู้ยืมเงินทั่วไป
( แบบมีหลักประกัน )
ทำที่..............................................................................
วันที่.................เดือน.................................พ.ศ.....................
ข้าพเจ้า..........................อายุ...................ปี อยู่บ้านเลขที่.....................ตรอก / ซอย...............ถนน.....................ตำบล / แขวง........................อำเภอ / เขต.........................จังหวัด...........................
ในฐานะ “ผู้กู้” ฝ่ายหนึ่ง กับ
ข้าพเจ้า..........................อายุ...................ปี อยู่บ้านเลขที่.....................ตรอก / ซอย...............ถนน.....................ตำบล / แขวง........................อำเภอ / เขต.........................จังหวัด...........................
ในฐานะ “ผู้ให้กู้” อีกฝ่ายหนึ่ง
คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงทำสัญญาดังความต่อ ไปนี้
ข้อ 1. ผู้กู้ตกลงกู้เงินและผู้ให้กู้ตกลงให้กู้เงินจำนวน..................บาท (.................................)และผู้กู้ได้รับเงินจำนวนดังกล่าวไปเรียนร้อยแล้วตั้งแต่เวลาที่ทำสัญญาฉบับนี้
ข้อ 2. ผู้กู้ตกลงยิงยอมชำระดอกเบี้ยให้กู้ในอัตราร้อยละ.......................ต่อปี นับตั้งแต่วัน
ที่....................จนถึงวันที่ชำระเสร็จสิ้นรวมเป็นเงินทั้งสิ้น......................บาท (..............................)
ข้อ 3. ผู้กู้ตกลงชำระเงินกู้คืนโดย
£ ผ่อนชำระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายเดือน เดือนละ...............................บาท
(....................................................) เริ่มต้นตั้งแต่เดือน........................................ไปจนชำระเสร็จสิ้น
£ ชำระต้นเงินคืนในวันที่.............เดือน............................พ.ศ........................และ
ชำระดอกเบี้ยคืนทุกเดือนในอัตราเดือนละ................................บาท (......................................)ตั้งแต่
เดือน............................จนถึงเดือน.................................................รวมทั้งสิ้น.........................เดือน
ข้อ 4. เพื่อเป็นหลักประกันในการกู้ยืมเงินครั้งนี้.............................................ได้ยินยอมเป็น
ผู้ค้ำประกับการกู้ยืมเงินนี้ ดังประกฎรายละเอียดตามสัญญาค้ำประกันหรือเพื่อเป็นหลักประกันผู้กู้ได้ มอบ........................................................................................................ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้กู้
เพียงลำพังให้แก่ผู้ให้กู้ไว้เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวนดังกล่าวด้วย
ข้อ 5. ผู้กู้ให้สัญญาว่าถ้าผู้กู้ไม่ปฏิบัติตามสัญญาไม่ว่าข้อหนึ่งข้อใด ผู้ให้กู้มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและเรียกร้องให้ผู้กู้ชำระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยคืนแก่ผู้ให้กู้ได้ทันที และผู้กู้ยินยอมชำระค่าเสียหายต่าง ๆในการเรียกทวงถามรวมทั้งค่าทนายความและค่าฤชาธรรมเนียมศาลอันเกี่ยวกับการฟ้องร้องด้วย
สัญญานี้ถูกทำขึ้นเป็นสองฉบับมีข้อความถูกต้องตรงกัน คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายยึดถือไว้ฝ่ายละฉบับและเห็นว่าข้อความในสัญญาถูกต้องตรงกันแล้วจึงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานเป็นสำคัญ
ลงชื่อ.................................................ผู้กู้ ลงชื่อ.................................................ผู้ให้กู้
(.................................................) (................................................)
ลงชื่อ.................................................พยาน ลงชื่อ.................................................พยาน
(.................................................) (................................................)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น