JOB Ratchakarn
พินัยกรรมแบบธรรมดา
เขียนโดย small ที่ 06:59
พินัยกรรมแบบธรรมดา
(กรณีไม่มีการตั้งผู้จัดการมรดก)
ทำที่.....................................................................
วันที่...................เดือน..........................พ.ศ......................
ข้าพเจ้า...................................................................................อายุ...............ปี อยู่บ้านเลขที่..................
ตรอก/ซอย......................................ถนน..................................ตำบล/แขวง.......................................................
อำเภอ/เขต............................................จังหวัด..............................................ขอทำพินัยกรรมไว้ว่าเมื่อข้าพเจ้า
ถึงแก่ความตายแล้ว ให้ทรัพย์สินของข้าพเจ้าทั้งหมดที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่จะมีต่อไปในอนาคตนั้นตกได้
แก่บุคคลดังต่อไปนี้ คือ
(1) ....................................................................................
(2) ....................................................................................
(3) ....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
เพื่อเป็นหลักฐานข้าพเจ้าได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ
ลงชื่อ...................................................ผู้ทำพินัยกรรม
(...................................................)
ข้าพเจ้าผู้มีรายนามข้างท้ายนี้ ขอรับรองว่า........................................................................................
ได้ทำพินัยกรรมต่อหน้าข้าพเจ้า และได้กระทำลงในขณะที่มีสติสัมปชัญญะบริบูรณ์ทุกประการ ข้าพเจ้าจึง
ลงลายมือชื่อไว้เป็นพยานในพินัยกรรมนี้
ลงชื่อ.....................................................พยาน
(.....................................................)
ลงชื่อ.....................................................พยานและผู้เขียน
(.....................................................)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Financial
บทความที่ได้รับความนิยม
-
เค้าโครงของคำร้องขอประเภทนี้สรุปได้ดังนี้คือ 1. บรรยายถึงฐานะของผู้ร้อง เกี่ยวข้องกับผู้ตายอย่างไร ( มีหลักฐานชนิดใดบ้าง ระบุไว้เสมอ ) 2...
-
กฎหมายแรงงาน (Labour Law) คือ อะไร กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐตราขึ้นมา เพื่อกำหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ท...
-
ประเภทขององค์กรฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่ายทั้งนายจ้างและลูกจ้างจึงได้เกิดการจัดตั้งองค์กรขึ้นดังนี้ องค์ก...
-
การรับฟังคำให้การในชั้นสอบสวน ( มาตรา 134/4) ถ้อยคำใดๆที่ผู้ต้อหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ์ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนก...
-
มาตรา22 เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลู...
-
การยื่นบัญชีระบุพยาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีมีการตรวจพยานหลักฐาน ดูมาตรา 173/1 1.1 คู่ความ(ทั้งโจทก์และจำเลย) ต้องยื่นก่อนวันตรวจพยานหลั...
-
ที่ดินเป็นทรัพย์อันมีค่าที่ทุกคนหวงแหน เป็นพื้นฐานของครอบครัวและประเทศชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ สำหรับ...
-
1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . ๒๕๓๕ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๑ มีนาคม พ . ศ . ๒๕๓๕ ค . ๒๓ มีนา...
-
พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายใหม่ที่ประกาศใช้ทดแทนพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 มีทั้งหมด 78 มาตรา จัดแบ่งเป็น 9 หมวดแ...
-
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ สภาพสังคมในปัจจุบันนี้ประชาชนต่างก็ประกอบสัมมาชีพกันหลากหลาย มีอยู่อาชีพหนึ่งที่ดูเหมือนว่าผู้ที่ประกอบอาชี...
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น